Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ, ให้ยาละลายลิ่มเลือด - Coggle Diagram
ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ
ต่อมลูกหมากโต💜💜
💜อาการ
ปัสสาวะไม่สุด
ปัสสาวะต้องเบ่ง
ปัสสาวะไม่พุ่ง
ปัสสาวะบ่อย
💜พยาธิสภาพ
ไตบวมน้ำ
ปัสสาวะบ่อย กลั้นไม่ได้
ท่อปัสสาวะแคบ
Dihydrotestosterone สูง
ต่อมลูกหมากเพิ่มจำนวนเซลล์ผิดปกติ
ปัสสาวะไหลไม่สะดวก
ผนังท่อไตบางลง พองออก ปัสสาวะขัง ท่อไตบวม
💜ภาวะแทรกซ้อน
นิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
ไตเสื่อม
การคั่งของปัสสาวะ
ติดเชื้อง่าย
กลั้นปัสสาวะไม่ได้ เล็ด
💜รักษา
ไม่ผ่าตัด
เฝ้าสังเกตอาการ
รักษาโดยยา
ลดความต้องการทางเพศ
ลดขนาดต่อมลูกหมาก
ลดการหดเกร็งท่อปัสสาวะ
คอกระเพาะปัสสาวะคลายตัว
ออกฤทธิ์ต่อฮอร์โมนเพศชาย
💜การพยาบาล
ก่อนการผ่าตัด
ให้ยาป้องกันการติดเชื้อ
เตรียมบริเวณที่ผ่าตัดโกนขน
เตรียมผู้ป่วย
อาบน้ำสระผม
สวนอุจจาระก่อนคืนผ่า
ให้ยานอนหลับ
หลังผ่าตัด
แนะนำให้ออกกำลังกายฝีเย็บ
สั่งยาให้อุจจาระนิ่ม
ถ้าไม่มีเลือดออก ขยับลงเตียงได้
วันแรกห้ามลุก ประเมินความเจ็บป่วย
สังเกตอาการ จัดท่าเหยียดขา
จัดท่านอนราบหากได้ยาระงับ
ครส.ทางไขสันหลัง
ประเมินสัญญาณชีพ
สังเกตสีและปริมาณปัสสาวะ ดื่มน่ำทุกชม.
สวนล้างกระเพาะปัสสาวะด้วยน้ำเกลือ
ป้องกันไม่ให้ท้องผูก
โรคหลอดเลือดสมอง Stroke🍏🍏
🍏อาการ
หน้าเบี้ยว
แขนขาอ่อนแรง
พูดไม่ชัด
🍏คำจำกัดความ
อาการอยู่นาน.>24 ชม.
ความผิดปกติของหลอดเลือดสมอง
สมองบางส่วน/ทุกส่วนทำงานผิดปกติ
สาเหตุในการอัมพฤกษ์/อัมพาต
🍏ปัจจัยเสี่ยง
ปรับเปลี่ยนไม่ได้
ชาติพันธ์
อายุ
เพศ
พันธุกรรม
🍏ปรับเปลี่ยนได้
ไขมันในเลือดสูง
เคยเป็นStroke
โรคหลอดเลือดหัวใจ
Atrial fibrillation
ความดันสูง
ความผิดปกติของหลอดเลือดแดง carotid
การสูบบุหรี่
เบาหวาน
🍏การตรวจวินิจฉัย
ตรวจทางห้องปฎิบัติการ
การตรวจรังสี
ตรวจภาวะเลือดออกในสมอง
ตรวจดูระบบทางเดินหายใจผู้ป่วยว่าดีหรือไม่
🍏การรักษา
ทางด่วน
รักษาในรพ.ไม่เกิน3ชม
ข้อห้าม
มีเนื้อสมองตาย
มีเลือดออกทางเดินอาหาร
มีประวัติการผ่าตัดใน14วัน
Hct <25%
มีอาการชัก เลือดออกในสมอง
Bp สูง
บาดเจ็บที่ศีรษะใน3เดือน
ได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือด ภายใน48ชม
ค่าความแข็งตัวเลือดผิดปกติ
Prevention therapy
การป้องกันการกลับมาเป็นซ้ำ
รักษาระดับน้ำตาล
ให้ aspirin
ลดความดันโลหิต
ลดไขมัน
🍏ชนิด
สมองขาดเลือด
เลือดออกในสมอง
ระยะเฉียบพลัน
รีบรักษา
เกิน4นาทีสมองตาย
Time is brain
รักษาภายใน3hr ดีที่สุด
ได้ยาละลายลิ่มเลือดอย่างเร็ว
ช่วยลดความตาย/พิการได้
เป็นภาวะฉุกเฉิน
Brain attack
การประเมินสภาพ
ประวัติ
ระยะเวลาที่เกิดอาการ
ความเจ็บป่วยในอดีต
ตรวจร่างกาย
การอ่อนแรงกล้ามเนื้อเนื้อแขนขา
การอ่อนแรงกล้ามเนื้อใบหน้า มุมปาก
ระดับความรู้สึกตัว
อาการที่ต้องรายงานแพทย์
เจ็บหน้าอก ชักกระตุก เกร็ง เหนื่อยหอบ
DTX <50 mg%/ />400 mg%
GCS <10
BP,SBP>185-220
O2 sat <95
การพยาบาล
ระยะพักฟื้นและฟื้นฟูสภาพ
ระยะฉุกเฉินและวิกฤติ
ลดการกระตุ้นที่เกิดจากการเกร็ง
เฝ้าระวังไม่ให้เกิดภาวะพร่องออกซิเจน
ไม่ควรใช้ PEEP
เฝ้าระวังการกลับมาเป็นซ้ำ
ไม่ใช้เวลานานเกิน10-15นาทีตอนดูดเสมหะ
ไม่ควรให้Nifedipine
ทำให้BPลดเร็ว
สมองขาดเลือดไปเลี้ยงมาก
หลีกเลี่ยงกิจกรรมที่ทำให้ความดันช่องท้องสูง
ป้องกันไม่ให้แรงดันช่องท้องเพิ่ม
จัดท่านอนศีรษะสูง30องศา
ห้ามนอนหัวต่ำ นอนคว่ำ
ให้ยากันชัก
ให้ยาลดไข้
จัดท่านอนศีรษะสูง30องศา
โรคเบาหวาน💛💛
💛เกณฑ์บ่งชี้การควบคุมเบาหวานดี
BP<130/80
LDL-C <100
ระดับ HbA1c<7%
ระดับน้ำตาลก่อนกินอาหาร90-130
HDL-C >40
หลังมื้ออาหาร 2ชม.<180
ไตรกลีเซอร์ไรด์ขณะอดอาหาร <150
💛ปัจจัยชักนำ
ความเครียด
โรคอ้วน
Insulin ลดลง
ดื้ออินซูลิน
กรรมพันธุ์
ยาที่ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูง
Estrogen
Corticosteroids
Thiazide diuretic
Furosemide
💛การควบคุม
ติดตามผล HbA1c
การลดนน.
การกินที่เหมาะสม
การออกกำลังกาย
การใช้ยาฉีด
💛อาการ
ดื้ออินซูลิน
Hyperuriamia
Triglycerides level>150
Obesity
HDL<45 mg/dl
Hypertension
โรคหลอดเลือดแดงขนาดเล็ก
เป็นที่ไต เกิดโปรตีนรั่ว
เป็นที่ตา เกิด macular disease
โรคหลอดเลือดแดงขนาดใหญ่
โรคหัวใจและหลอดเลือด
Stroke
มีภาวะแทรกซ้อนระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบประสาททำงานบกพร่อง
กินจุ ปัสสาวะบ่อย ดื่มน้ำมาก นน.ลด
ติดเชื้อบ่อย มีรอยโรคที่ผิวหนัง
💛ชนิด
เบาหวานชนิดที่1
เกิดภาวะketoacidosis
น้ำตาลในเลือดสูง
พบในเด็ก
ผอม
ตับอ่อนไม่สร้างอินซูลิน
เบาหวานชนิดที่2
เป็นนานๆต้องฉีด
อ้วน
พบมากในผู้สูงอายุ
ควบคุมอาหารในระยะแรก
มีภาวะดื้ออินซูลิน
💛เกณฑ์วินิจฉัย
ทำได้3วิธี
มีระดับน้ำตาลในเลือดหลังอดอาหาร
ทำ2ครั้งสม่ำเสมอ มากกว่าหรือเท่ากับ126mg/dl
มีอาการ DM+ระดับน้ำตาลในเลือดสูง
200 mg/dl ไม่ต้องงดน้ำงดอาหาร
มีระดับน้ำตาล2ชม.หลังทดสอบ
ให้กอนสารละลายกลูโคส 75g
💛ภาวะแทรกซ้อนแบบเฉียบพลัน
น้ำตาลในเลือดต่ำ
ปวดหัว มึนงง สับสน ชัก หมดสติ
Blood sugar <60
หัวใจเต้นเร็ว ใจสั่น ตัวเย็น หน้าซีด
Hyperglycemia
ความรู้สึกเปลี่ยนแปลง
น้ำตาลในเลือดสูง
ขาดน้ำ
เลือดมีความเข้มสูง
ภาวะแทรกซ้อน
หลอดเลือดแดงขนาดเล็ก
หลอดเลือดขนาดใหญ่
กล้ามเนื้อหัวใจตาย
Retinopathy
💛การถูกตัดขา
เกิดแผลง่าย
การทำลายเชื้อแบคทีเรียไม่มีประสิทธิภาพ
เกิดแผล หายยาก
การดูแลเท้า
บริหารให้เลือดไหลเวียน
ใส่รองเท้านุ่นมๆ
ตรวจเท้าทุกวัน ล้างเท้า ห้ามแล่น้ำร้อน
อาการเตือนที่มีปัญหาที่เท้า
สีและความหยาบ
เท้าเย็น ปวดเป็นพักๆ
ค่อยๆเปลี่ยนแปลงรูปร่างของนิ้ว
💛ยารักษาเบาหวานชนิดรับประทาน
ชะลอการย่อยและดูดซึมน้ำตาล
Acarbose
แก้ไขภาวะดื้ออินซูลิน
Metformin
กระตุ้นการหลั่งอินซูลินจากตับอ่อน
💛การใช้อินซูลิน
ออกฤทธิ์เร็ว(น้ำใส)ภายใน15นาที
ออกฤทธิ์สั้น(น้ำใส)ภายใน30-60นาที
ออกฤทธิ์ปานกลาง(น้ำขุ่น)ภายใน2-4ชม.
ออกฤทธินาน(น้ำขุ่น)ภายใน2ชม
💛การออกกำลังกาย
ประโยชน์
ช่วยป้องกันการเกิด DM
ระดับไตรกลีเซอร์รอลลดลง HDL เพิ่มขึ้น
ช่วยลดระดับน้ำตาล
ควบคุมน้ำหนัก
ลดภาวะแทรกซ้อน
ชนิด
เดินเร็ว วิ่งเยาะ
เคลื่อนไหวร่างกายโดยเฉพาะกล้ามเนื้อ
เพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ
ลักษณะ
หลีกเลี่ยงการออกในช่วงอินซูลินออกฤทธิ์สูงสุด
ถ้าออกนานเกิน30นาที ควรตรวจระดับน้ำตาล
ออกระดับปานกลาง
มีปัญหาเส้นเลือดในลูกตาควรงด
ค่อยๆเพิ่มเวลา
ปรับอาหารให้เหมาะสม
สังเกตอาการน้ำตาลต่ำ
ภาวะแทรกซ้อน
การบาดเจ็บของเนื้อเยื่อ
Hypoglycemia
เลือดออกในจอตา
ภาวะแทรกซ้อนทางหัวใจ
งดอออกกำลังกาย
หลอดเลือดอุดตัน
มีไข้
น้ำตาล>250 //<100 mg/dl
หัวใจเต้นผิดปกติ
อากาศร้อน
ข้อเสื่อม🔸
🔸การพยาบาล
หลีหเลี่ยงการใช้ข้อมากเกินไป
ประคบร้อนเกื่อบรรเทาอาการ
ประเมินความสามารถในการเคลื่อนไหวของข้อ
ประเมินผลกระทบ ความเจ็บปวด
ประเมินปัจจัยที่ทำให้ปวด
แนะนำให้พักข้อ
สังเกตลักษณะการอักเสบของข้อ
แนะนำผูป่วยอยู่ในท่าที่ถูกต้อง และการใช้ไม้เท้า
🔸การรักษา
รักษาโดยไม่ใช้ยา
ออกกำลังกายที่แรงกระแทกน้อย
มีอาการปวดให้พักเข่า
การบริหารข้อ
หลีกเลี่ยงการขึ้นบันได การนั่งพับเพียบ
การลดนน้ำหนัก
นวดประคบ
ใส่รองเท้าที่มีพื้นกระแทก ใช้ไม่เท้าค้ำ
มีคุณภาพชีวิตใกล้เคียงกับคนปกติ
ป้องกัน/ชะลอภาวะแทรกซ้อน
เพื่อบรรเทาอาการปวด ลดการอักเสบ
แก้ไข คงสภาพการทำงาน
รักษาโดยใช้เวชศาสตร์
การผ่าตัด
ผ่าตัดแก้ความโก่งของเข่า
ได้ผลดี โรคแทรกซ้อนไม่มาก
ผ่าตัดส่องกล้อง
รักษาโดยใช้ยา
ยาบำรุงกระดูกอ่อน
ยาแก้ปวด
ยาแก้อักเสบไม่ใช้steroid
ใช้น้ำเลี้ยงข้อชนิดเทียม
🔸ปัจจัยชักนำ
กรรมพันธุ์
บาดเจ็บที่ข้อ
การใช้งานข้อมากเกินไป
อายุ
โรคอ้วน
ขาดวิตามิน ดีและซี
🔸ลักษณะสำคัญ
พบมากในผู้สูงอายุ
ปวดข้อ
การเปลี่ยนแปลงกระดูกอ่อน
ผิวข้อบางลง
มีเศษกระดูกลอยอยู่ในข้อ
ข้อผิดรูป/พิการ
🔸การวินิจฉัย
การเจาะเลือด
ซักประวัติตรวจข้อเข่า
การถ่ายภาพรังสี
ตรวจน้ำหล่อเลี้ยงเข่า
🔸อาการ
เสียงดังตอนเคลื่อนไหว
พบเข้าโก่ง ข้อฝืดช่วงเช้า
มักเป็นในข้อที่รับน้ำหนักมากเกิน
ข้อบวมผิดรูแ
สูญเสียการเคลื่อนไหว
🦋ภาวะท้องผูกconstipation
ความหมาย🦋
การเคลื่อนไหวของลำไส้ลดลง
รู้สึกถ่ายไม่หมด
อุจจาระแข็งและแหัง
เวลาถ่ายต้องเบ่ง หลายวันถ่ายครั้ง
ชนิด🦋
แบ่งตามลักษณะการถ่าย
ชนิดถ่ายลำบาก เจ็บปวด
มีการไหลอุจจาระในลำไส้ช้าๆ
แบ่งตามสาเหตุ🦋
Primary constipation
ละเลยการถ่าย
เกิดขึ้นเองโดยไม่มีโรคเป็นเหตุ
กินอาหารกากใยน้อย
ออกกำลังกายน้อย
Secondary constipation
ผิดปกติทางจิตใจ
มีก้อนเนื้องอก
การควบคุมลำไส้ผิดปกติ
มีพยาธิสภาพของไขสันหลัง
ความสูงอายุ🦋
กลัวเรื่องการถ่ายลำบาก
กินข้าวน้อยลง
ขับถ่ายช้า
ดื่มน้ำไม่เพียงพอ
ได้รับยา
ประเมินอาการ🦋
ซักประวัติ ตรวจร่างกาย
การพยาบาล🦋
หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มคาเฟอีน
แนะนำเรื่องรับประทานอาหาร
ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
เคี้ยวอาหารให้ละเอียด
แนะนำการดื่มน้ำวันละ6-8แก้ว
ฝึกถ่ายให้ตรงเวลา กระตุ้นการเคลื่อนไหวลำไส้
ดูแลระบประทานยา
ใช้ยาระบายผลข้างเคียงน้อย
ใช้ยาเหน็บเป็นครั้งคราว
ถ้าทานยาระบายแล้วถ่ายไม่ออก
ใช้ยาเหน็บ
สวนด้วยยาหล่อลื่น
ควักอุจจาระ
❤️การกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
ผลกระทบ❤️
ด้านร่างกาย
ด้านจิตสังคม
ปัจจัยการปัสสาวะ❤️
การใช้อุปกรณ์
โครงสร้างสรีรวิทยา
จิตใจและวัฒนธรรม
สิ่งแวดล้อมเกื้อหนุน
ชนิด❤️
แบบชั่วคราว
รักษาให้หายได้
หลักการประเมิน DIAPPERS
Stool impact
Psychological factor
Atrophic vaginitis
Delirium
Infection of urinary tract
Pharmacological agent
Excess urine output
Restrict mobility
แบบเรื้อรัง
Urge in continents
Functio incontinence
Stress incontinence
Overflow incontinence
การพยาบาล
ปรับสิ่งแวดล้อม
หลีกเลี่ยงการใช้ยาทำให้เกิดอาการ
หาปัญหากลั้นปัสสาวะไม่อยู่
พัฒนาแผนการดูแล
ประเมินการได้รับน้ำ
การบำบัดเชิงพฤติกรรม
การบริหารกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน
การฝึกกระเพาะปัสสาวะ
การพยาบาลผู้สูงอายุที่กลั้นปัสสาวะไม่อยู่
ประสานทีมสุขภาพ
แนะนำให้ใช้แผ่นรองซับ
สอนให้บริหารกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน
Bladder traning
ควบคุมน้ำหนัก
Urge incontinence
ประสานทีมสุขภาพ
Bladder training
Kegel exercise
Overflow incontinence
สวนปัสสาวะเป็นครั้งคราว
แนะนำให้ใช้ cred’s maneuver
แนะนำให้ปัสสาวะเมื่อรู้สุกปวด
ปัสสาวะอย่างไม่เร่งรีบ
การะดูพรุนoseteoporosis
ลักษณะ
กระดูกหัก
ความหนาแน่นของเนื้อกระดูกลดลง
กระดูกไม่สามรถรับแรงกด
ได้ตามปกติ
อาการ
การก้มทำได้น้อย
นน ลด
ปวดหลัง
Dowager’s hump
กล้ามเนื้อเกร็ง โดยเฉพาะบั้นเอว
การวินิจฉัย
เมื่อ BMD<-2.5 SD
ใช้ DEXA
ดูตามเกณฑ์WHO
กระดูกปกติ
BMD>-1
กระดูกบาง
BMD<-1d ถึง>-2.5
กระดูกพรุน
น้อยกว่าหรือเท่ากับ -2.5
กระดูกพรุนรุนแรง
น้อยกว่าหรือเท่ากับ -2.5 และกระดูกหัก
การรักษา
การรักษาไม่ใช้ยา
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
Vit D รับแคลเซียม
ออกกำลังกาย
ควรตรวจสภาพร่างกายก่อน
เน้นการออกกำลังกายโดยกดแรงไปที่กระดูก
ช่วยลดมวกระดูก เพิ่มความแข็งแรงกล้ามเนื้อ
รักษาโดยใช้ยา
เลือกใช้ยาเพิ่มความหนาแน่นกระดูก
เลือกใช้ยาป้องกันไม่ให้กระดูกหัก
การตรวจทางห้องปฎิบัติการ
CBC
ฮอร์โมนไทรอยด์
พาราไทรอยด์
การทำงานของตับไต
ฮอร์โมนเพศ
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
ขาดวิตามินดี งดแอลกอฮอล์
การดำเนินชีวิต โรคประจำตัว
เชื้อชาติ พันธุกรรม
ญ>ช
ประวัติคนในครอบครัว
การใช้ยาที่มีผลต่อการวลายเนื้อกระดูก
ไม่ได้เคลื่อนไหว ขาดออกกำลังกาย_
อาหารเค็ม โปรตีนสูง
ให้ยาละลายลิ่มเลือด