Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ
Osteoarthritis
อาการ
เสียงดังตอนเคลื่อนไหว
พบเข่าโก่ง
ข้อฝืดช่วงเช้า
มักเป็นในข้อที่รับน้ำหนักมากเกิน
ปวดมากเมื่อใช้งานหรือลงน้ำหนัก
ข้อบวมผิดรูป
สูญเสียการเคลื่อนไหว
ลักษณะสำคัญ
พบมากในผู้สูงอายุ
ปวดข้อ
การเปลี่ยนแปลงกระดูกอ่อนผิวข้อบางลง
มีเศษกระดูกลอยอยู่ในข้อ
ข้อผิดรูป/พิการ
การวินิจฉัย
การเจาะเลือด
ซักประวัติและตรวจข้อเข่า
การถ่ายภาพรังสี
ตรวจน้ำหล่อเลี้ยงเข่า
ปัจจัยชักนำ
กรรมพันธุ์
บาดเจ็บที่ข้อ
การใช้งานข้อมากเกินไป
อายุ
โรคอ้วน
ขาดวิตามิน D และ C
การรักษา
การผ่าตัด
แก้ความโก่งของเข่า
ได้ผลดี โรคแทรกซ้อนไม่มาก
ผ่าตัดส่องกล้อง
การใช้ยา
ยาบำรุงกระดูกอ่อน
ยาแก้ปวด
ยาแก้อักเสบไม่ใช่ steroid
ใช้น้ำเลี้ยงท่อชนิดเทียม
รักษาโดยไม่ใช้ยา
ออกกำลังกายที่แรงกระแทกน้อย
เมื่อมีอาการปวดให้พักเข่า
การบริหารข้อ
หลีกเลี่ยงการขึ้นบันได
การนั่งพับเพียบ
การลดน้ำหนัก
หลีกเลี่ยงการเกิดข้อเข่าเสื่อม
การนอนกับพื้น
นวดประคบ
ใส่รองเท้าที่มีพื้นกันกระแทก
ใช้ไม้เท้าค้ำ
การพยาบาล
หลีกเลี่ยงการใช้ข้อมากเกินไป
ประคบร้อนเพื่อบรรเทาอาการ
ประเมินความสามารถในการเคลื่อนไหวข้อ
ประเมินผลกระทบ
ประเมินความปวดและปัจจัยที่ทำให้ปวด
แนะนำให้ผู้ป่วยพักข้อ
สังเกตลักษณะการอักเสบของข้อ
แนะนำให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าที่ถูกต้อง
แนะนำการใช้ไม้เท้า
Constipation
ความหมาย
การเคลื่อนไหวของลำไส้ลดลง
รู้สึกถ่ายไม่หมด
อุจจาระแข็งและแห้ง
หลายวันถึงถ่าย เวลาถ่ายต้องเบ่ง
ชนิด
แบ่งตามลักษณะการถ่าย
ถ่ายลำบาก เจ็บปวด
มีการไหลของอุจจาระในลำไส้อย่างช้าๆ
แบ่งตามสาเหตุ
Primary constipation
ละเลยการถ่าย
เกิดขึ้นเองโดยไม่มีโรคอื่นเป็นสาเหตุ
กินอาหารที่มีกากใยน้อย
ออกกำลังกายน้อย
Secondary constipation
มีความผิดปกติทางจิตใจ
มีก้อนเนื้องอก
การเคลื่อนไหวของลำไส้ผิดปกติ
มีพยาธิสภาพของไขสันหลัง
ความสูงอายุ
กลัวเรื่องการขับถ่ายลำบาก
กินข้าวน้อย
ขับถ่ายช้า ละเลยการขับถ่าย
ดื่มน้ำไม่เพียงพอ
ได้รับยาบางชนิด
การประเมิน
ซักประวัติ
ตรวจร่างกาย
การพยาบาล
หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มคาเฟอีน
แนะนำเรื่องการรับประทานอาหาร
ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
เคี้ยวอาหารให้ละเอียด
แนะนำให้ดื่มน้ำวันละ 6-8 แก้ว
ฝึกการขับถ่ายให้ตรงเวลา
กระตุ้นการเคลื่อนไหวของลำไส้
พลิกตะแคงตัวทุก 2 ชั่วโมง
ไม่กลั้นอุจจาระ
จัดสภาพแวดล้อมของห้องน้ำ
ดูแลการรับประทานยา
ใช้ยาระบายที่ผลข้างเคียงน้อย
ใช้ยาเหน็บเป็นครั้งคราว
Osteoporosis
ลักษณะ
กระดูกหัก
ความหนาแน่นของกระดูกลดลง
กระดูกไม่สามารถรับแรงกดได้ตามปกติ
อาการ
ก้มได้น้อย
น้ำหนักลด
ปวดหลัง
Dowager’s hump
กล้ามเนื้อเกร็ง โดยเฉพาะบั้นเอว
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
ขาดวิตามินดี
ดื่มกาแฟและแอลกอฮอล์
การดำเนินชีวิต
โรคประจำตัว
เชื้อชาติ พันธุกรรม
รูปร่างเล็กผอม
ประวัติของคนในครอบครัว
การใช้ยาที่มีผลต่อการสลายเนื้อกระดูก
ไม่ได้เคลื่อนไหว/ขาดการออกกำลังกาย
รับประทานอาหารเค็มจัดและโปรตีนสูง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ฮอร์โมนไทรอยด์และพาราไทรอยด์
CBC
การทำงานของตับและไต
ฮอร์โมนเพศ
การพยาบาล
ให้ยาแก้ปวด
ดูแลการรับประทานอาหารที่โซเดียมสูง
ประเมินและติดตามอาการปวด
ดูแลด้านอารมณ์และจิตใจ
การวินิจฉัย
เมื่อ BMD < -2.5 SD
ใช้ DEXA
ดูตามเกณฑ์WHO
กระดูกปกติ
BMD > -1
กระดูกบาง
BMD > -1 d ถึง > -2.5
กระดูกพรุน
น้อยกว่าหรือเท่ากับ -2.5
กระดูกพรุนรุนแรง
น้อยกว่าหรือเท่ากับ -2.5 และกระดูกหัก
การรักษา
การรักษาโดยไม่ใช้ยา
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ออกกำลังกาย
รับโซเดียมและวิตามินดี
รักษาโดยการใช้ยา
เลือกใช้ยาเพิ่มความหนาแน่นของกระดูก
เลือกใช้ยาป้องกันไม่ให้กระดูกหัก
การกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
Overflow incontinence
สวนปัสสาวะเป็นครั้งแรก
แนะนำให้ใช้ Cred’s maneuver
แนะนำให้ปัสสาวะเมื่อรู้สึกอยาก
ปัสสาวะอย่างไม่เร่งรีบ
ผู้สูงอายุชายใช้อุปกรณ์รองรับปัสสาวะช่วย
ประสานทีมสุขภาพเมื่อต้องใช้ยา
Urge incontinence
ประสานทีมสุขภาพ
Bladder training
Kegel exercise
Stress incontinence
ประสานทีมสุขภาพ
แนะนำให้ใช้แผ่นรองซับ
สอนให้บริหารกล้ามเนื้ออ้งเชิงกราน
Bladder training
ควบคุมน้ำหนัก
การบำบัดเชิงพฤติกรรม
การบริหารกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน
การฝึกกระเพาะปัสสาวะ
การพยาบาล
หลีกเลี่ยงการใช้ยาที่ทำให้เกิดอาการ
หาสาเหตุการกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
พัฒนาแผนการดูแล
ประเมินการได้รับน้ำ
ประสานทีมสุขภาพจัดอุปกรณ์
ผลกระทบ
ด้านร่างกาย
ด้านจิตและสังคม
การประเมิน
ยาที่รับประทาน
การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย
ประวัติปัสสาวะ
โรคที่เกิดขึ้นมาก่อน
การตรวจร่างกายและการตรวจพิเศษ
ชนิด
ชั่วคราว
รักษาให้หายได้
หลักการประเมินDIAPPERS
Stool impact
Psychological factor
Atrophic vaginitis
Delirium
Infarction of urinary tract
Pharmacological agent
Excess urine output
Restrict mobility
เรื้อรัง
Urge incontinence
Functional incontinence
Stress incontinence
Overflow incontinence
การทำ Voiding diary
ดื่มน้ำมากเกินไปควรลด
จดบันทึกปริมาณน้ำและเครื่องดื่ม
จดปริมาณปัสสาวะ
ปริมาณปัสสาวะไม่ควร<200 ml.
การตรวจร่างกาย
ประเมินความแข็งแรงของกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน
ตรวจระบบประสาท
BMI
ตรวจหน้าท้อง
ตรวจภายใน
การรักษา
การรักษาโดยใช้อุปกรณ์ช่วย
ใช้ผ้าอ้อมอนามัยสำเร็จรูป
ใช้อุปกรณ์ช่วยเก็บปัสสาวะ
สวนปัสสาวะเป็นระยะ
การคาสายสวน
การรักษาเชิงพฤติกรรม
ฝึกกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน
ฝึกกระเพาะปัสสาวะ
การรักษาโดยการผ่าตัด
รักษาโดยการใช้ยา
ต่อมลูกหมากโต
อาการ
ปัสสาวะไม่สมดุล
ปัสสาวะไม่พุ่ง
ปัสสาวะต้องเบ่ง
ปัสสาวะบ่อย
พยาธิสภาพ
ไตบวมน้ำ
ปัสสาวะบ่อย กลั้นไม่ได้
ท่อปัสสาวะแคบ
ต่อมลูกหมากเพิ่มจำนวนเซลล์ผิดปกติ
ปัสสาวะไหลไม่สะดวก
ผนังท่อไตบางลง พองออก ปัสสาวะขัง ท่อไตบวม
ภาวะแทรกซ้อน
นิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
ไตเสื่อม
การคั่งของปัสสาวะ
ติดเชื้อง่าย
กลั้นปัสสาวะไม่ได้
คำแนะนำเมื่อกลับบ้าน
พบแพทย์ตามนัด
ป้องกันภาวะท้องผูก
งดการเดินขึ้นที่สูง
ดื่มน้ำมากๆ
งดมีเพศสัมพันธ์ 1-2 เดือน
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
ภาวะเลือดจาง
การติดเชื้อของไต
การซักประวัติ
ลักษณะของการขับถ่าย
สอบถามอาการ
ระยะเวลาที่เริ่มมีอาการผิดปกติ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
KUB
Cystoscope เพื่อดูต่อปัสสาวะตีบตัน
ตรวจปัสสาวะ ดูการติดเชื้อ
ตรวจเลือดเพื่อประเมินไต
PSA ค่าปกติ 0-4
Uroflowmentry
การรักษา
ไม่ผ่าตัด
สังเกตอาการ
รักษาโดยยา
ลดความต้องการทางเพศ
ลดขนาดต่อมลูกหมาก
ลดการหดเกร็งท่อปัสสาวะ
คอกระเพาะปัสสาวะคลายตัว
ออกฤทธิ์ต่อฮอร์โมนเพศชาย
การผ่าตัด
ลดความดันต่อมลูกหมาก
TURP ไม่มีแผล
ตัดคาสายสวน
ใช้ NSS ล้าง
การพยาบาล
ก่อนการผ่าตัด
ให้ยาป้องกันการติดเชื้อ
เตรียมบริเวณที่ผ่าตัด โกนขน
เตรียมผู้ป่วยทั้งร่างกายและจิตใจ
อาบน้ำสระผม
สวนอุจจาระก่อนคืนผ่าตัด
ให้ยานอนหลับ
หลังการผ่าตัด
แนำนำให้ผู้ป่วยออกกำลังกายฝีเย็บ
สั่งยาเพื่อให้อุจจาระนิ่ม
ถ้าไม่มีเลือดออกลงจากเตียงได้ แต่วันแรกห้ามลุกจากเตียง
ประเมินความเจ็บป่วย
สังเกตการบวมของกระเพาะปัสสาวะ
จัดให้นอนราบกรณีได้รับยาระงับความรู้สึกทางไขสันหลัง
จัดท่าเหยียดขา
ประเมินสัญญาณชีพ
สังเกตสีและจำนวนปัสสาวะ
ดื่มน้ำชั่วโมงละ 1 แก้ว
สวนล้างกระเพาะปัสสาวะด้วยน้ำเกลือ
ทำกิจกรรมให้สอดคล้องกับปริมาณน้ำที่ออกมา
ถ้ามีเลือดออกให้นอนพักต่อ
ป้องกันไม่ให้เกิดอาการท้องผูก
ไม่ควรสวนอุจจาระ
ดูแลถุงปัสสาวะ
โรคหลอดเลือดสมอง
คำจำกัดความ
การอยู่นาน > 24 ชั่วโมง
ความผิดปกติของหลอดเลือดสมอง
สมองทำงานผิดปกติ
สาเหตุสำคัญในการเกิดอัมพาต
อาการ
หน้าเบี้ยว
แขนขาอ่อนแรง
พูดไม่ชัด
ปัจจัยเสี่ยง
ปรับเปลี่ยนได้
ไขมันในเลือดสูง
เคยเป็น stroke
โรคหลอดเลือดหัวใจ
Arterial fibrillation
ความดันโลหิตสูง
ความผิดปกติของหลอดเลือดแดง carotid
การสูบบุหรี่
เบาหวาน
ปรับเปลี่ยนไม่ได้
ชาติพันธุ์
อายุ
เพศ
พันธุกรรม
การตรวจวินิจฉัย
การตรวจทางรังสี
ตรวจภาวะเลือดออกในสมอง
ต้องดูว่าผู้ป่วยได้รับการดูแลทางเดินหายใจดีแล้ว
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การักษา
ทางด่วน
รักษาในโรงพยาบาลไม่เกิน 3 ชั่วโมง
ให้ยาละลายลิ่มเลือด
Prevention therapy
การป้องกันการกลับมาเป็นซ้ำ
ไม่ใช่ทางด่วน
ชนิด
สมองขาดเลือด
เลือดออกในสมอง
ระยะเฉียบพลัน
รีบรักษา
เกิน 4นาทีสมองตาย
Time is brain
รักษาภายใน 3 ชั่วโมง ดีที่สุด
ได้รับยาละลายลิ่มเลือดอย่างรวดเร็ว
ช่วยลดความตายหรือพิการได้
Brain attack
การประเมินสภาพ
อาการที่ต้องรายงานแพทย์ทันที
เจ็บหน้าอก ชักกระตุก เกร็ง เหนื่อยหอบ
DTX < 50 mg%หรือ > 400 mg%
GCH < 10
BP : SBP > 185-220
ออกซิเจน sat < 95
ประวัติ
ระยะที่เกิดอาการ
ความเจ็บป่วยในอดีต
ตรวจร่างกาย
การอ่อนแรงกล้ามเนื้อแขนขา
การอ่อนแรงของกล้ามเนื้อใบหน้า มุมปาก
ระดับความรู้สึกตัว
การพยาบาล
ระยะฟื้นฟู
ระยะฉุกเฉินและวิกฤต
ลดการกระตุ้นที่เกิดการเกร็ง
เฝ้าระวังไม่ให้เกิดภาวะพร่องออกซิเจน
ไม่ควรใช้ PEEP
เฝ้าระวังการกลับมาเป็นซ้ำ
ไม่ใช้เวลานานเกิน 10-(15 นาทีในการดูดเสมหะ
ไม่ควรให้ Nifedipine
ให้ยากันชัก
ให้ยาลดไข้
จัดท่านอนศีรษะสูง 30 องศา
ขณะให้ยาละลายลิ่มเลือด
ระดับน้ำตาลไม่ควรเกิน 150 mg%
ไม่ให้ยาชนิดอื่นเข้าทางสายเดียวกัน
คำนวณยาตามน้ำหนักตัว
อธิบายให้ญาติเข้าใจ
เฝ้าระวังและป้องกันการมีเลือดออก
เก็บยาเหลือไว้ในตู้เย็น หากเกิน 24 ชั่วโมงให้ทิ้ง
เปิดหลอดเลือดดำ 2 เส้น
ให้ยาลดกรด
เฝ้าระวังเลือดออกในอวัยวะต่างๆ
งดน้ำและอาหารทางปาก ยกเว้นยา
โรคเบาหวาน
การควบคุม
ติดตามผล HBA1C
การลดน้ำหนัก
การรับประทานอาหารที่เหมาะสม
การออกกำลังกาย
การใช้ยาฉีด
ปัจจัยชักนำ
ความเครียด
โรคอ้วน
Insulin ลดลง
ดื้อ Insulin
กรรมพันธุ์
ยาที่ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูง
อาการ
ดื้อต่อ insulin
โรคหลอดเลือดเเดงขนาดเล็ก
โรคหลอดเลือดแดงขนาดใหญ่
มีภาวะแทรกซ้อนระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบประสาททำงานบกพร่อง
ติดเชื้อบ่อย
กินจุ ปัสสาวะบ่อย ดื่มน้ำมาก น้ำหนัก
มีรอยโรคที่ผิวหนัง
ชนิด
Type I
เกิดภาวะ Ketoacidosis
น้ำตาลในเลือดสูง
พบในเด็กเด็กผอม
ตับอ่อนไม่สร้าง insulin
Type II
เป็นนานๆต้องฉีด
อ้วน
พบมากในผู้สูงอายุ
ควบคุมอาหารในระยะแรก
มีภาวะดื้อ insulin
การแนะนำ
ห้ามนวดเพราะยาดูดซึมเร็ว
สังเกตอาการน้ำตาลต่ำ
รับประทานอาหารหลังฉีด 30 นาที
ไม่ใช่ช่องแช่แข็ง
การฉีดขาทำให้เกิดภาวะน้ำตาลต่ำได้ง่าย
เกณฑ์วินิจฉัย
มีระดับน้ำตาลในเลือดหลังอาหารงดอาหาร
มีอาการ DM + ระดับน้ำตาลสูง
มีระดับน้ำตาล 2 hr.หลังทดสอบ
การพยาบาล
แนะนำเรื่องอาหาร
การเปลี่ยนพฤติกรรม
ส่งเสริมให้มีความรู้และความสามารถ
ภาวะแทรกซ้อนแบบเฉียบพลัน
น้ำตาลในเลือดต่ำ
Hyperglycemia
หลอดเลือดแดงขนาดเล็ก
หลอดเลือดขนาดใหญ่
กล้ามเนื้อหัวใจตาย
Retinopathy
การถูกตัดขา
เกิดแผลง่าย
การทำลายเชื้อแบคทีเรีย
เกิดแผล หายยาก
การดูแลเท้า
บริหารให้เลือดไหลเวียน
ใส่รองเท้านุ่ม
ตรวจเท้าทุกวัน
ล้างเท้า
ห้ามแช่เท้าด้วยน้ำร้อน
อาการเตือนที่มีปัญหาที่เท้า
ยารักษาเบาหวาน
ชนิดรับประทาน
ชะลอการย่อยและดูดซึมน้ำตาล
แก้ไขภาวะดื้ออินซูลิน
การกระตุ้นการหลั่งอินซูลินจากตับ
การใช้ยาอินซูซิน
ออกฤทธิ์เร็ว (น้ำใส) ภายใน 15 นาที
ออกฤทธิ์สั้น (น้ำใส) ภายใน 30-60 นาที
ออกฤทธิ์ปานกลาง (น้ำขุ่น) ภายใน 2-4 ชั่วโมง
ออกฤทธิ์นาน (น้ำขุ่น) ภายใน 2 ชั่วโมง