Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายเกี่ยวกับอนามัยสิ่งแวดล้อมและการควบคุมโรค 2 - Coggle Diagram
กฎหมายเกี่ยวกับอนามัยสิ่งแวดล้อมและการควบคุมโรค 2
กฎหมายเกี่ยวกับงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน
งานอาชีวอนามัย
งานที่เกี่ยวกับการควบคุมดูแลสุขภาพอนามัยของผู้ประกอบอาชีพทั้งมวล
ลักษณะงาน
คณะกรรมการร่วมกันระหว่างองค์กรแรงงารระหว่างประเทศ :ILO
องค์การอนามัยโลก WHO
ส่งเสริมสุขภาพ
ปกป้องคุ้มครอง
จัดการงาน
ป้องกัน
ปรับงาน/ปรับคน
ขอบเขต
สภาพหรือสิ่งแวดล้อมในการทำงาน
ดูแลด้านอาชีวสุขศาสตร์
ดูแลด้านการยศาสตร์
ดูแลด้านความปลอดภัย
สุขภาพอนามัยของผู้ประกอบอาชีพ
รักษาพยาบาลแก่ผู้ประกอบอาชีพ
ฟื้นฟูสภาพแก่ผู้ประกอบอาชีพ
ป้องกันและส่งเสริมสุขภาพ
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
พระราชบัญญัติความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ.2554
พระราชบัญญติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541 และกฎกระทรวง (ออกตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน ฯ)
กำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการ ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน 2549
พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535
หมวดที่ 2 การกำกับดูแลโรงงาน (13 มาตรา)
หมวดที่ 3 บทกำหนดโทษ (21มาตรา)
หมวดที่ 1 การประกอบกิจการโรงงาน (25 มาตรา)
บทเฉพาะกาล (3มาตรา)
สาระสำคัญตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535
โรงงานที่ได้รับยกเว้น (4)
โรงงานของทางราชการเพื่อประโยชน์แห่งความมั่นคงและความปลอดภัยของประเทศ
นำหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับโรงงานไปใช้
โรงงานตามกฎหมาย (มาตรา5)
การตั้งโรงงาน (มาตรา5)
การประกอบกิจการโรงงาน (มาตรา5)
โรงงานแบ่งออกเป็น 3 จำพวก (มาตรา7)
ประกอบกิจการโรงงานได้ทันที
ประกอบกิจการโรงงานต้องแจ้งให้ทราบก่อน
ตั้งโรงงานต้องได้รับใบอนุญาตก่อน
หน้าที่ของผู้ประกอบกิจการโรงงาน
ใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน (มาตรา5)
ใช้ได้ 5 ปี (มาตรา14 )ย้ายโรงงานตามมาตรา27 หรือเลิกประกอบกิจการ (มาตรา28)
เงื่อนที่กำหนดในใบอนุญาต (มาตรา 12วรรค 5)
การขยายโรงงาน (มาตรา18)
แบบคำขอเกี่ยวกับการขออนุญาตต่างๆ
การขอต่อใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน (มาตรา15)
การอุทธรณ์คำสั่งไม่ออกใบอนุญาตหรือไม่ต่ออายุใบอนุญาต (มาตรา16)
การโอนใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน
การชำระค่าธรรมเนียมรายปี (มาตรา43)
เขตประกอบการออุตสาหกรรม (30)
การพิจารณาอนุญาตร่วมกันหลายหน่วยงาน
การกำหนดนโยบายเกี่ยวกับโรงงาน (มาตรา 32)
คำสั่งของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรา 37
คั่งปิดโรงงาน มาตรา 39/3
คำสั่งให้หยุดประกอบกิจการโรงงาน (มาตรา39 วรรค1)
การส่งคำสั่ง มาตรา39
การปิดประกาศคำสั่งของพนักงานเจ้าหน้าที่ มาตรา40
อำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานเจ้าที่ ที่รัฐมนตรีแต่งตั้ง
ข้อหาหรือฐานความผิดตามพระราชบัญญัติโรงงาน พศ 2535
การอุทธรณ์คำสั่งต่างๆ
การดำเนินคดีบุคคลผู้กระทำความผิด
อำนา๗หน้าที่ของรัฐมนตรี
การเปรียบเทียบคดี มาตรา 65
อำนาจหน้าที่ของผู้อนุญาต ปลัดกระทรวง หรือผู็ซึ่งปลัดกระทรวงมอบหาย
บทเฉพาะกาล มาตรา68
พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ ๖) พ.ศ.๒๕๖๐
ประกาศในราชกิจนุเบกษา วันที่ ๓๑ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๖๐
เพื่อเป็นการส่งเสริมการจ้างงานและการคุ้มครองแรงงานสำหรับลูกจ้างบางกลุ่มหรือบางประเภท คณะกรรมการค่าจ้างอาจพิจารณากำหนดอัตราค่าจ้างขั้นต่ำที่แตกต่างจากที่พิจารณากำหนดในวรรคสอง เพื่อใช้สำหรับลูกจ้างกลุ่มนั้นหรือประเภทนั้นในกิจการ งาน หรือ สาขาอาชีพ ประเภทใด เพียงใด ในท้องถิ่นใดก็ได้ ทั้งนี้ ค่าจ้างดังกล่าวต้องไม่ต่ำำกว่าอัตราค่าจ้างขั้นต่ำที่คณะกรรมการการค่าจ้างกำหนดตามวรรคสอง
มาตรา 108 ให้นายจ้างซึ่งมีลูกจ้างรวม 10 คนขึ้นไป จัดให้มีข้อบังคัับเกี่ยวกับการทำงานเป็นภาษาไทยและข้อบังคับนั้นอย่างน้อยต้องมีรายละเอียดเกี่ยวกับรายการ ดังต่อไปนี้
วันและสถานที่จ่ายค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าทำง่รในวันหยุดและค่าล่วงเวลาในวันหยุด
วันลา และหลักเกณฑ์การลา
หลักเกณฑ์การทำงานล่วงเวลาและการทำงานในวันหยุด
วินัยและโทษทางวินัย
วันหยุดและหลัเกณฑ์การหยุด
การร้องทุกข์
วันทำงาน เวลาทำงานปกติ และเวลาพัก
การเลิิกจ้าง ค่าชดเชยและค่าชดเชยพิเศษ
มาตราแก้ไขเพิ่มเติม 108/2/3
พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ได้กำหนดเกณฑ์สถานประกอบการทุกประเภทต้องอยู่ภายใต้บังคับตาม พรบ. นี้
ให้เพิ่มข้อความนี้ในมาตรา 118/1
การใช้แรงงานทั่วไปในการทำงานปกติตาม พรบ. แรงงานฯสัปดาห์หนึ่งต้องไม่เกิน 48ชั่วโมง
พรบ คุ้มครองแรงงาน ห้ามนายจ้างให้ลูกจ้างซึ่งเป็นผู้หญิงตั้งครรภ์ทำงานในช่วงเวลา 22:00-06:00