Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Thailand 4.0 กับอนาคตประเทศไทย - Coggle Diagram
Thailand 4.0 กับอนาคตประเทศไทย
เมื่อโลกไม่ใช่ใบเดิม
เมื่อโลกไม่ใช่ใบเดิม
โลกแห่งความสุดโต่ง(The Age of Extremity)
ความสุดโต่งทางเศรษฐกิจ
ความสุดโต่งทางสังคม
ความสุดโต่งทางการเมือง
ความสุดโต่งของธรรมชาติ
โลกแห่งความย้อนแย้ง(The Age of Paradox)
กฏกลายเป็นข้อยกเว้น ข้อยกเว้นกลายเป็นกฏ
There is No Alternative กับ Another World is Possible
โลกแห่งการเปลี่ยนแปลงอย่างเฉียบพลัน(The Age of Disruption)
สถาบันที่เป็นเสาหลักของศตวรรษที่ 20 ถูกท้าทาย
การปฏิวัติอุตสาหกรรมยุคที่ 4
Nanosecond Culture
Ministry for the Future/Committee for the Future Economy
5 กระแส
การเปลียนแปลงในวัฒนธรรม
การเปลี่ยนแปลงในวัฒนธรรมของการทำงาน
การเปลี่ยนแปลงในวัฒนธรรมของการดำเนินธุรกิจ
การเปลี่ยนแปลงในวัฒนธรรมของการดำรงอยู่
การเปลี่ยนแปลงในวัฒนธรรมของการเรียนรู้
การเปลี่ยนแปลงในวิถีชีวิตของผู้คน
Urbanization
สัดส่วนของผู้คนในเมืองจะมีมากขึ้น ทำให้วิถีชีวิตเปลี่ยนแปลงไป
Individualization
คนจะมีความเป็นปัจเจกมากขึ้น
ความเป็นปัจเจกจะเกิดขึ้นได้ 2 รูปแบบ คือ Collective Individuals (อยู่ร่วมกัน) และ Contra-Individuals (ต่างคนต่างอยู่)
Digitization
อารยธรรมในโลกจริงและอารยธรรมในโลกเสมือนในโลกดิจิตอล ก่อให้เกิด Network Externalities ดังนั้น จะเปลี่ยนไปเป็นแบบ Exponential Return to Scale มากขึ้น
เปลี่ยนรูปแบบการสื่อสารSomeone, Somewhere และ Sometime เป็น Anyone, Anywhere และ Anytime
Commonization
ในโลกที่ยิ่งเชื่อมต่อกันมากขึ้น ผู้คนต้องพึ่งพิงอิงอาศัยกันมากยิ่งขึ้น
ความเสี่ยงและภัยคุกคามส่งผลกระทบต่อโลกโดยรวม (Global Commons) อาทิ วิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ โรคระบาด การก่อการร้าย ภาวะโลกร้อน เป็นต้น
Globalization
การเคลื่อนไหลของทุน สินค้าและบริการ ผู้คนอย่างเสรีจนโลกที่เชื่อมต่อกันเป็นเครือข่าย
ปรับเปลี่ยนจาก One Country, One Destiny เป็น One World, One Destiny
วัฒนธรรม
การทำงานชุดใหม่
Open Collaborative Network
Cyber Physical System
Multiplexing
การเรียนรู้ชุดใหม่
Demonopolization of Knowledge
Unlearn
Disruption of Technology & Innovation
Relearn
Democratization of Information
Learn
การดำเนินธุรกิจชุดใหม่
Sharing Economy
DIY Economy
Open Innovation Economy
วัฒนธรรมการดำรงอยู่ชุดใหม่
Producing Knowledge -> Producing Meanings
Negative Side of the Good -> Positive Side of the Bad
Power of Knowledge -> Power of Shared Knowledge
การปรับเปลี่ยนโมเดลประเทศ
ให้สอดรับกับพลวัตโลกในศตวรรษที่ 21
Made in China 2025 ของสาธารณรัฐประชาชนจีน
Make in India ของอินเดีย
Design in Innovation ของสหราชอาณาจักร
Smart Nation ของสิงคโปร์
A Nation of Makers ของสหรัฐอเมริกา
Creative Economy ของเกาหลีใต้
โลกเปลี่ยนไทยปรับ Thailand 4.0
โมเดลขับเคลื่อนสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน
เปลี่ยนสนามรบ เป็นสนามการค้า
ทำให้ประเทศที่มีอุดมการณ์ การปกครองต่างกันร่วมมือกันในด้านที่ไม่มีความขัดแย้งกันได้ คือ ด้านเศรษฐกิจ
Thailand4.0
นำพาประเทศให้หลุดพ้นจาก กับดักประเทศรายได้ปานกลาง ความเหลื่อมล้ำ ความไม่สมดุลสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน
โชติช่วง ชัชวาล
พ.ศ. 2524สามารถนำก๊าซธรรมชาติจากอ่าวไทยมาใช้ประโยชน์ทดแทนเชื้อเพลิงซึ่งมีราคา แพงได้เป็นครั้งแรก
โมเดลขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย
ความมั่งคั่งของชาติ
Thailand 1.0
เน้นเกษตรกรรม
เน้นหัตถกรรม
Thailand 2.0
เน้นทดแทนการนำเข้า
เน้นการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและแรงงานราคาถูก
เน้นอุตสาหกรรมเบา
Thailand 3.0
เน้นการส่งเสริมการส่งออก
เน้นการลงทุนและการนำ
เทคโนโลยีจากต่างประเทศ
เน้นอุตสาหกรรมหนัก
Thailand 3.0 สู่ Thailand 4.0
3 กับดักใน Thailand 3.0
กับดักประเทศ รายได้ปานกลาง
กับดักความเหลื่อมล้ำ
กับดักความไม่สมดุล
3 กลไกขับเคลื่อน Thailand 4.0
Inclusive Growth Engine (ความมั่นคง)
การสร้างเศรษฐกิจระดับฐานรากในชุมชน
การสร้างเครือข่ายความร่วมมือในรูปแบบประชารัฐ
การพัฒนา Innovation Hubs ให้กระจายในระดับ
ภูมิภาค
Green Growth Engine (ความยั่งยืน)
การมุ่งเน้นการใช้พลังงานทดแทน
การพัฒนาเมืองอัจฉริยะ และเมืองที่น่าอยู่
การมุ่งเน้นธุรกิจ การผลิต และการใช้
เทคโนโลยีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
Competitive Growth Engine (ความมั่งคั่ง)
กิจการร่วมทุนรัฐและเอกชนในโครงการขนาดใหญ่
การบ่มเพาะผู้ประกอบการด้านเทคโนโลยีการออกแบบและความคิดสร้างสรรค์
การยกระดับขีดความสามารถด้านการวิจัยและพัฒนา
การพัฒนาที่สมดุลตามหลักคิดเศรษฐกิจพอเพียง
ความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ
การจ้างงานที่มีคุณค่าและการเติบโตทางเศรษฐกิจ
แผนการบริโภคและการผลิตที่ยั่งยืน
ลดความเหลื่อมล้ำ
อุตสาหกรรม นวัตกรรม โครงสร้างพื้นฐาน
ความอยู่ดีมีสุขของผู้คนในสังคม
ขจัดความหิวโหย
ขจัดความยากจน
เมืองและถิ่นฐานมนุษย์อย่างยั่งยืน
สังคมสงบสุข ยุติธรรม ไม่แบ่งแยก
ศักยภาพและคุณค่าของมนุษย์
การศึกษาที่เท่าเทียม
ความเท่าเทียมทางเพศ
การมีสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี
การรักษ์สิ่งแวดล้อม
พลังงานสะอาดที่ทุกคนเข้าถึงได้
การรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
การจัดการน้้ำและสุขาภิบาล
การใช้ประโยชน์จากระบบนิเวศทางบก
10 วาระนายกรัฐมนตรี
วาระขับเคลื่อน
พัฒนาเกษตร อุตสาหกรรมและภาคบริการเป้าหมาย
การพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล
การสร้างรายได้จากการท่องเที่ยวและบริการ
การส่งเสริมอุตสาหกรรมที่ใช้ความหลากหลายทางชีวภาพและวันธรรม เช่น กานพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว GI สมุนไพร
สร้างวิสาหกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม
การเปลี่ยนผ่า SMEs สู่Industry 4.0
การยกระดับ Smart Manufacturing SMEs
การอำนวยความสะดวกทางธุรกิจ
เสริมความเข้มแข็งผ่าน 6 ภาค 18 กลุ่มจังหวัดและ 77 จังหวัด
การแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้
การส่งเสริมการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น
การพัฒนาเมือง/Smart City
เชื่อมประเทศไทยสู่ประชาคมโลก
ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก
การพัฒนาชายแดนจากเมืองทางผ่านสู่เมืองการค้า
ปัญหาแนวชายแดน
กลไกการบริหารจัดการ
โครงสร้างพื้นฐานทางสังคม
การสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคม
สุขภาพ
สวัสดิการ
โครงสร้างพื้นฐานทางปัญญา
การวิจัยและพัฒนา
วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี
การศึกษาและกระบวนการเรียนรู้
โครงสร้างพื้นฐาน เชิงเครือข่าย
เครือข่ายดิจิตัล
เครือข่ายคมนาคมและโลจิสติกส์
โครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพ
สิ่งแวดล้อม
การบริหารจัดการน้ำ/ป่า
พลังงาน
เตรียมคนไทยสู่ศตวรรษที่ 21
พัฒนาศักยภาพคนตามช่วงวัย
ส่งเสริมการปกป้องสิทธิมนุษยชน
การยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ระบบราชการ 4.0
Government 4.0
ยึดหลักธรรมาภิบาลเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน(Better Governance, Happier Citizens)
ภาครัฐที่เปิดกว้าง
และเชื่อมโยงกัน
From Gov 3.0
การมีส่วนร่วมของประชาชนและภาคส่วนต่างๆ ในการให้ข้อมูล/ความคิดเห็นกับภาครัฐ
การเปิดเผยข้อมูลตามที่ประชาชนร้องขอเป็นการเฉพาะราย/ การเปิดเผยข้อมูลที่จำกัด
การเก็บข้อมูลแบบแยกส่วนตามแต่ละหน่วยงานของรัฐ
To Gov 4.0
การใช้/แลกเปลี่ยน/แบ่งปันข้อมูลร่วมกันระหว่างหน่วยงานภาครัฐ
การมีส่วนร่วมของประชาชนและภาคส่วนต่างๆ ในการให้คำปรึกษา ร่วมตัดสินใจ ร่วมตรวจสอบ เพื่อสร้างความรู้สึกในการเป็นส่วนหนึ่งของการดำเนินงานภาครัฐ
การเปิดเผยข้อมูลในรูปแบบค่าตั้งต้น (default) ในรูปแบบที่สามารถนำไปใช้ได้ทันทีโดยไม่ต้องรอให้ประชาชนร้องขอ
ภาครัฐที่ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง
From Gov 3.0
ให้บริการประชาชนตามอำนาจหน้าที่ที่รับผิดชอบ
ให้บริการเมื่อได้รับการร้องขอ
บริการประชาชนตามเวลาราชการ
ขอรับบริการ ณ หน่วยงานที่รับผิดชอบ
การให้บริการที่เป็นมาตรฐานตามสิทธิพื้นฐาน
ของบุคคลที่รัฐกำหนด
To Gov 4.0
บริการประชาชนตลอด 7/24
เชื่อมโยงทุกส่วนราชการในการให้บริการประชาชน
ให้บริการเชิงรุก/น าเสนอบริการที่เหมาะสมแก่ผู้รับบริการแต่ละบุคคล
ขอรับบริการได้หลากหลายช่องทาง /ขอรับบริการได้หลากหลายบริการ ณ ช่องทางเดียว
การให้บริการตามความต้องการเฉพาะปัจเจกบุคคลโดยแต่ละบุคคลสามารถออกแบบ/เลือกรูปแบบ/วิธีการในการรับบริการได้
ภาครัฐที่มีขีดสมรรถนะสูง
To Gov 4.0
การทำงานมีการเชื่อมโยงผ่านระบบดิจิทัลอย่างสมบูรณ์แบบตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการ
การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติได้จริงและมีประสิทธิภาพ
การบูรณาการการทำงานร่วมกันเชิงยุทธศาสตร์ตั้งแต่ระดับการวางนโยบายไปจนถึงการนำไปปฏิบัติ
มีความเชี่ยวชาญ/ชำนาญในหลากหลายสาขาวิชา (สหวิทยาการ) และข้ามสาขาวิชา
การทำงาน ณ สถานที่ใดก็ได้ทั่วทุกมุมโลก
การดำเนินงานที่ตอบสนองทันที/ทันเวลา /ทันต่อการเปลี่ยนแปลงมีการคาดการณ์/วางแผนการดำเนินงานล่วงหน้า
การใช้ประโยชน์หน่วยงานสนับสนุนร่วมกัน (กองคลัง กองการเจ้าหน้าที่it ฯลฯ)เพื่อลดต้นทุน เพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงาน และสร้าง นวัตกรรมการทำงานใหม่ ๆ
การกำหนดนโยบายสาธารณะโดยคำนึงถึงความต้องการของประชาชนและใช้ข้อมูลเชิงลึกเป็นหลัก
From Gov 3.0
การทำงานร่วมกันระหว่างหน่วยงาน
การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติเป็นไปอย่างจำกัด
การทำงานยังไม่อยู่ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์อย่างสมบูรณ์แบบ
มีความเชี่ยวชาญ/ชำนาญเฉพาะทาง
การทำงาน ณ สถานที่ราชการ
การดำเนินงานตามขั้นตอนที่กำหนดไว้ให้มีประสิทธิภาพ
โครงสร้างองค์กรที่มีความเป็นอิสระทำให้ขาดการเชื่อมโยงการดำเนินงาน/ข้อมูล ส่งผลต่อการบริหารทรัพยากรให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
การกำหนดนโยบายสาธารณะโดยยึดประสบการณ์ของ
ผู้กำหนดนโยบายเป็นหลัก
ภาครัฐต้องเป็นที่พึ่งของประชาชนและเชื่อถือไว้วางใจได้
PM Lab
การปฏิรูปประเทศ
Policy Lab(เริ่ม&ทดสอบนโยบาย)
Policy Testing
ทดสอบนโยบายและนวัตกรรม
เชิงนโยบายใหม่ๆ
Delivery Design
ออกแบบ
กลไกการส่งมอบนโยบาย
Policy Design
ริเริ่มนโยบาย (เรียนรู้จาก LessonLearned, Best Practices, BrightSpot)
การบริหารราชการแผ่นดิน
Gov. Lab(ออกแบบนวัตกรรมภาครัฐ)
Co-Creation Space and
Experiment
เปิดพื้นที่ให้ทุกฝ่ายร่วมออกแบบ
นวัตกรรมและทดสอบบริการภาครัฐ
Strategize the rollout
ขับเคลื่อนและขยายผล
Public Service Redesign
ออกแบบบริการภาครัฐให้มีคุณภาพสูง รวดเร็ว
และตอบสนองประชาชน
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
Future Lab (สำรวจอนาคต)
Scenario Planning
จัดทำฉากทัศน์อนาคตของไทย
และในวาระที่สำคัญ
Future Consultation
ขับเคลื่อนให้องค์กรต่างๆ พร้อม
รับอนาคต
Future Scanning
ติดตาม คาดการณ์แนวโน้มและความผันผวนของโลกและไทยในทุกมิติ