Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เภสัชวิทยา (Pharmacology) - Coggle Diagram
เภสัชวิทยา (Pharmacology)
เภสัชจลนศาสตร์ (Pharmacokinetics), PK
Absorption การดูดซึมยา หมายถึง การดูดซึมยาจากบริเวณที่ให้ยา(site of administration) เข้าสู่ plasma ซึ่งการดูดซึมเป็นกระบวนการที่สำคัญในการให้ยาทุกชนิดยกเว้น ยาฉีดเข้าหลอดเลือดดำ(intravenous , IV )
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการดูดซึมยา
1.คุณสมบัติของตัวยา
Gastrointestinal motility
Splanchnic blood flow
ขนาดอนุภาคผงยา (particle size) และการตั้งตำรับยา (formulation)
ปัจจัยจากผู้ป่วย
-ยาที่ให้โดยการรับประทาน (oral administration)เป็นวิธีการให้ยาที่นิยมมากที่สุด ยาจะถูกดูดซึมมากที่สุดที่ลำไส้เล็ก
-การให้ยาโดยอมใต้ลิ้น (sublingual administration)เป็นการดูดซึมยาโดยตรง ใช้กรณีที่ต้องการผลของยาอย่างรวดเร็ว หรือยาที่ถูก gastric pH ทำลาย หรือยาที่มี first pass metabolism สูง เนื่องจากยาไม่ผ่าน portal vein
-การให้ยาผ่านทางทวารหนัก (rectal administration) นิยมกรณีให้ยาออกฤทธิ์เฉพาะที่ เนื่องจากการดูดซึมยาไม่ค่อยแน่นอน
-การให้ยาโดยการสูดพ่น ( inhalation administration) จะทำให้มีระดับยาในเลือดสูงอย่างรวดเร็ว เนื่องจากปอดมีพื้นที่มาก
-การให้ยาโดยการทาภายนอก มักออกฤทธิ์ในบริเวณที่ทา และดูดซึมเข้ากระแสเลือดน้อย
Distribution การกระจายของยา
ยาที่ดูดซึมเข้าหลอดเลือดแบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ
ส่วนที่เป็น free drug เป็นยาที่สามารถไปออกฤทธิ์ในการรักษา
ส่วนที่รวมกับโปรตีนในเลือด (albumin)แบบชั่วคราว (reversible)เรียกว่า bound drug เป็นยาในรูปที่ไม่สามารถออกฤทธิ์ได้ และไม่สามารถผ่านหลอดเลือดไปสะสมในเนื้อเยื่อได้ จึงอยู่ในร่างกายได้นาน
ส่วนของยาที่เข้าไปจับกับเนื้อเยื่อบางชนิด เช่น ยาที่ละลายในไขมันได้ดีอาจไปสะสมในเนื้อเยื่อไขมันหรืออวัยวะบางอย่าง
ปัจจัยที่มีผลต่อการกระจายของยา
1) Physicochemicalpropertiesofdrug
2) Proteinbinding
3) Physiologicbarrier
Metabolism การเปลี่ยนแปลงยา /biotransformation
ปัจจัยที่ส่งผลต่อ Metabolism ของยา
Age
Toxic substances
Druginteraction
Pathologicstate
Malnutrition
Genetic
Excretion การกำจัดยา
Bile excretion(feces) Active transport for high polar or high MW (> 500) molecule: เช่น erythromycin enterohepatic circulation: เช่น morphine
Lung : ขับสารที่ระเหยได้ เช่น ยาสลบ แอลกอฮอล์ paraldehyde
Other excretion: sweat,saliva, milk (ระวังในหญิงให้นมบุตร)
Pharmacokinetic profiles
1.ปริมาตรการกระจาย (Volumeofdistribution, Vd) Vd = Dose/ Plasma drug concentration (Cp)คือปริมาตรที่ต้องการให้ยากระจายตัวให้มีความเข้มข้นเท่ากับความเข้มข้นของยาใน plasma Vd มาก ยามีการกระจายตัวออกนอกเส้นเลือดมากขึ้นกับ plasma/tissue protein binding,affinity of binding ใช้คำนวณ Loading dose = Target Cp / Vd
2) การชำระยา (Clearance, CL)ปริมาตรของพลาสมาที่ยาถูกกำจัดออกไปในหนึ่งหน่วยเวลา หน่วยเป็น ปริมาตร/เวลา CL = Drug excretion rate / Average plasma drug concentration แสดงถึง ประสิทธิภาพในการกำจัดยาของร่างกาย Clearance: Total body clearance, Renal clearance, Non-renal clearanceใช้คำนวณหา Maintenance dose ได้ Dosing rate = CL x Target Cp, ss
3.ค่าครึ่งชีวิตของยา (Half-life, t1/2 )คือ ระยะเวลาที่ปริมาณยาในร่างกายหรือความเข้มข้นของยา ในพลาสมาลดลงเหลือครึ่งหนึ่งของเดิม ใช้กำหนดความถี่ในการให้ยา(Dosing interval)
4.ค่าคงที่ในการกำจัดยา(eliminationconstant, ke) สัดส่วนของปริมาณยาที่ถูกกำจัดต่อหนึ่งหน่วยเวลา ,มีหน่วยเป็น ส่วนกลับของหน่วยเวลา เช่น hr-1,มีความสัมพันธ์กับค่าครึ่งชีวิต
เภสัชพลศาสตร์ (Pharmacodynamics), PD
กลไกการออกฤทธิ์ของยา(Mechanism of drug action)
ไม่จับกับตัวรับ(Non-receptor mediated)กลไกการออกฤทธิ์ของยาพวกนี้มักไม่มีความจำเพาะ ความแรงของยา(potency)ต่ำ ต้องใช้ปริมาณสารมาก
Surface active agents :ยาทำลายจุลชีพบางชนิด,antiseptics
ฤทธิ์ที่เป็นด่าง :ยาลดกรดในกระเพาะอาหาร (antacids)
ฤทธิ์ในการทำให้เกิดแรงดันออสโมซิส :mannitol หรือยาถ่ายmagnesium sulfate
Adsorbents : activated charcoal
จับกับตัวรับ (receptor mediated)
จับกับตัวรับ (receptor) อย่างเฉพาะเจาะจง
ออกฤทธิ์ได้ในความเข้มข้นต่ำๆ
ขนาด หรือความเข้มข้นของยาสัมพันธ์กับผลตอบสนอง(ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา)
ตัวยามีความจ าเพาะ (specificity) สูงต่อตัวรับ
Receptor คือ โมเลกุลหรือโครงสร้างที่ทำหน้าที่จับกับยาหรือฮอร์โมนแล้วก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการทำงานของเซลล์หรือเอนไซม์receptor ส่วนใหญ่มีคุณสมบัติเป็นพวกโปรตีน
คุณสมบัติของตัวรับ(receptor)
โปรตีน หรือไกลโคโปรตีน (glycoprotein)
ปรากฏที่ผิวเยื่อหุ้มเซลล์ หรือภายในไซโตพลาสซึม/นิวเคลียส
มีความจำเพาะ (specificity) ต่อสารสื่อเคมีภายในและภายนอกร่างกาย
ปริมาณตัวรับจะมีจำกัด
ผลตอบสนองของยาจะมีความสัมพันธ์กับปริมาณตัวรับ(receptor) ที่ถูกครอบครองโดยยา
ลักษณะของตัวรับ
1 . Transport protein : โปรตีนที่ทำหน้าที่ลำเลียงไอออนหรือสาร
ต่างๆ ผ่านเข้าออกเซลล์ เช่น Na+-K+ATPase
2 . Structural protein: โปรตีนโครงสร้างในร่างกาย เช่น tubulin
Physiologic receptor (Regulatory protein)* : ตัวรับของสารสื่อ
ต่างๆ ในร่างกาย เช่น สารสื่อประสาท, ฮอร์โมน
Enzymes : ออกฤทธิ์กระตุ้น/ยับยั้งเอนไซม์ เช่น HMG CoA reductase, dihydrofolate reductase
การควบคุมจำนวนของตัวรับ (Receptor regulation)
Down regulation
ถ้าได้รับสารที่เป็น agonist กระตุ้นตัวรับอย่างต่อเนื่องจะเกิดขบวนการที่เรียกว่า “desensitization”
โดยขนย้ายหรือทำลายตัวรับหรือมีการสร้างตัวรับน้อยลง ทำให้
จำนวนตัวรับลดน้อยลง
Up regulation
ได้รับสารที่เป็น antagonist ต่อเนื่องจะทำให้ตัวรับถูกกระตุ้นน้อยลง ตัวรับจะมี “hyperreactivity or supersensitivity”
มีการสร้าง receptor ขึ้นมาใหม่
ความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของยากับการตอบสนองยา
Potency : ความแรงของยาที่ทำให้เนื้อเยื่อเป้าหมายเกิดการตอบสนอง
Maximal efficacy : ความสามารถในการชักนำให้เกิดการตอบสนองสูงสุดของยา
เภสัชวิทยาในระดับประชากร :เป็นการหาความ สัมพันธ์ระหว่างปริมาณยาที่ร่างกายได้รับกับการตอบสนองต่อการเกิดพิษจากค่าสถิติของประชากร