Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารยาในผู้สูงอายุ Drug administration in eldely - Coggle…
การบริหารยาในผู้สูงอายุ Drug administration
in eldely
เภสัชวิทยาในผู้สูงอายุ
การเปลี่ยนเเปลงทางเภสัชจลศาสตร์ (Pharmacokinetic)
การกระจายตัวของยา (Distribution)
increase α1-acid glycoprotein Concentration
reduced lean body mass
reduced serum albumin
reduced cardiac output
reduced total body water
reduced hepatic and renal blood flow
increase body fat
การทำลายยา (Metabolism)
reduced hepatic blood flow
reduced enzyme activity
reduced liver size
การดูดซึมยา (Absorbtion)
delayed gastric emptying
decrease splanchnic blood flow
increase gastric pH
reduced gastrointestinal motility
reduced surface area
reduced gastrointestinal secretions
การกำจัดยา (Elimination)
reduced creatinine clearance
reduced glomerular filtration rate
reduced renal blood flow
reduced number of functioning nephrons
การเปลี่ยนแปลงทางเภสัชพลศาสตร์
(Pharmacodynamic)
Cholinergic system
เอนไซม์ choline acetyltransferase ลดลง Ach ลดลงการทำงานของ cholinergic system ลดลงซึ่งมีความสัมพันธ์กับการเกิด Alzheimer’s disease
ต้องระวังในยาชนิด Anticholinergic เนื่องจากอาจเกิด Anticholinergic dielirium
Dopaminergic system
Dopamine recepterชนิด D2 ลดลงใน striatum ทำให้เกิดอาการ Parkinsonnism
ต้องระวังในการให้ยาต้านอาการโรคจิต
Adrenergic
system
cAMP เป็นตัววัดการทำงานของ β-adrenergic receptor ในผู้สูงอายุการสร้าง cAMP ลดลงและจํานวน adrenoreceptors ลดลง
• เมื่อถูกกระตุ้นด้วย adrenergic agonists adrenoreceptor affinity ลดลง การตอบสนองของ adrenoreceptor จึงลดลง
ต้องระวังในการให้ยากลุ่มนี้เนื่องจากประสิทธิภาพอาจไม่ดี
Gabaminergic system
การให้ยากล่มุ benzodiazepinesทำให้psychomotor performance เสียไป
น่าจะเกิดจากการเพิ่ม sensitivity ของ benzodiazepine receptorในผ้สูงอายุ
การตอบสนองต่อGABAของpostsynaptic receptor ลดลง
การพยาบาล
อธิบายความสําคัญของการได้รับยา
การสังเกตอาการแพ้ยาและผลข้างเคียงของยา
ประเมินการรับรู้
ยึดหลัก 10 R
Right Patient
Right Dose
Right Drug
Right Route
Right time and frequency
Right Document
Right of refuse
Right history and assessment
Right Drug interaction and evaluation
Right to education and information
กลุ่มยาที่ใช้บ่อยเเละอาจเกิดอาการไม่พึงประสงค์
Cardiovascular drrugs
Cardiac glycosides : digoxin
Antiarrhythmics: quinidine, procainamide
Antihypertensive drugs
diuretics, calcium
antagonist, angiotensin-converting enzyme inhibitor (ACEI)
methyldopa, adrenergic neuron blocking
Atherosclerosis : ยาลดไขมัน
Diabetes drugs
Sulfonylurea
อาการไม่พึงประสงค์
: Hypoglycemia
Gastrointestinal drugs
Histamine2 (H2) blockers ใช้ในการลดกรดในกระเพาะอาหารและลำไส้
cimetidine : ให้ระวังในผู้ป่วยหนักอาจทำให้เกิดจิตสับสนได้ (mental confusion)
มีผลยับยั้งการทำงานของ cytochrome P450 ในตับมีผลต่อ half life ของยา
theophylline, warfarin, phenytoin, beta-blocker ให้ระวัง drug interaction เมื่อให้ยาด้วยกัน
dopamine antagonist และ cholinergic agonist ใช้ในการรักษาอาการคลื่นไส้อาเจียน เเละ กรดไหลย้อน
SE : สับสน ซึม เกิด extra pyramidal side effects
Nonsteriodal drug
รักษาการปวด ควรเลือกใช่ยากลุ่มออกฤธิ์สั้น
SE : ทำให้เกิดเเผลหรือเลือดออกในกระเพาะอาหาร
Psychotropic drugs
รักษาโรควิตกกังวลหรือนอนไม่หลับ
ควรใช้ benzodiazepine กลุ่มที่มีค่าครึ่งชีวิตสั้น
รักษาโรคซึมเศร้าควรใช้ยา tricyclic antidepressants
Antimicrobial drugs
โรคอักเสบติดเชื้อที่พบบ่อย
โรคระบบทางเดินหายใจ
โรคระบบทางเดินปัสสาวะ
ควรปรับขนาดยาที่จะใช้เพื่อป้องกันพิษที่เกิดกับไตเเละอวัยวะอื่นๆ
Drugs use in Alzheimer’s disease
Cholinomimetic drugs
Tacrine
Donepezil
รักษา Dementia
ปฏิกิริยาต่อกันของยากับยาเเละยากับอาหาร
Aspirin + Heparin, warfarin : เลือดออกหยุดยาก
ยาช่วยในการเต้นของหัวใจ + กาเเฟ : หัวใจเต้นผิดจังหวะ
ยากลุ่ม Cardiac glycosides + Quinidine = เกิดพิษที่หูเเละไตรุนเเรง
พฤติกรรมการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาด้วยตนเอง
ต้องมีความสามารถ
ในการบริหารยา (Capability to perform medication administration)
ในการตัดสินใจเกี่ยวกับการใช้ยาอย่างเหมาะสม. (Capability to make a proper decision)
การใช้ยาตามคำสั่งเเพทย์
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้ยาในผู้สูงอายุ
ความรู้ของ ผสอ.
ความจำ
ความเชื่อเเละทัศนคติ
การได้รับข้อมูลเกี่ยวกับยา
การใช้ยาหลายชนิดเเละความซับซ้อนของการใช้ยา
ปัญหาการใช้ยาในผู้สูงอายุ
เหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา (Adverse drug events)
ความคลาดเคลื่อนทางยา (Medication errors)
ปฏิกิริยาอันไม่พึงประสงค์จากยา (Adverse drug reactions)
ความไม่ร่วมมือในการใช้ยา (Medication non-compliance)
การจัดการกับปัญหาการใช้ยา
เชิงรุก
เชิงรับ
เชิงระบบ
บทบาทของพยาบาลที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยาในผู้สูงอายุ
บริหารยาเเก่ผู้ป่วยโดยตรง
สั่งใช้ยาซึ่งเป็นไปตาม พรบ.วิชาชีพพยาบาล
ส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีพฤติกรรมการใช้ยาที่ปลอดภัยโดยคำนึงถึงประสิทธิภาพการรักษาและความปลอดภัยของผู้ป่วยเป็นสำคัญ
การบริหารยาในผู้สูงอายุ
ความจำเป็นที่ต้องใช้ยา
ให้การวินิจฉัยที่ถูกต้อง
ขนาดยาที่ต่ำเนื่องจากการเปลี่ยนเเปลงทางสรีระวิทยาเเต่การออกฤทธิ์ของยาต้องมีผลดี
รูปแบบของยาที่เหมาะสม
ระวังผลข้างเคียงหรือฤทธิ์ยาที่ไม่พึงประสงค์ เมื่อคาดว่าจะเกิดให้หยุดหรือปรึกษาเเพทย์
ปฏิกิริยาต่อกันของยา
ความชัดเจนของการอธิบายเกี่ยวกับการใช้ยาที่ถูกวิธี รวมทั้งการเก็บรักษา
ไม่ควรให้ยาติดต่อกันเปผ้นเวลานาน