Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่9 การดูแลผู้ป่วยแบบ ประคับประคองและการดูแลระยะท้าย, นางสาวญาณิศา…
หน่วยที่9 การดูแลผู้ป่วยแบบ
ประคับประคองและการดูแลระยะท้าย
องค์การอนามัยโลก ให้ความหมายการดูแลประคับประคอง
คือการดูแลผู้ป่วยที่กำลังเผชิญปัญหาเกี่ยวกับความเจ็บป่วยที่กำลังคุกคามต่อชีวิตและครอบครัว เพื่อช่วยให้มีคุณภาพชีวิตและครอบครัว เพื่อช่วยให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ด้วยการป้องกันบรรเทาความทุกข์ทรมานโดยการค้นหาแต่เนิ่นๆ
การประเมินอย่างถูกต้องและแม่นยำ และรักษาความปวด
ตลอดจนปัญหาอื่นๆทั้งทางร่างกาย จิตสังคมและจิตวิญญาณ
เป้าหมายการดูแลแบบประคับประคอง
1.ผู้ป่วยและครอบครัวยอมรับและเข้าใจ
พร้อมปรับตัวเข้ากับความเจ็บป่วยได้
2.บรรเทาความทุกข์ทรมานจาก
อาการรบกวนและอาการเจ็บปวด
3.มีคุณภาพชีวิตที่ดี
4.การปฏิบัติที่สอดคล้องกับวัฒนธรรม จริยธรรม
กลุ่มเป้าหมาย
2.กลุ่มผู้ป่วยที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาด
และมีอาการเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ(serious illness)
โรคเรื้อรังระยะสุดท้าย
2.1.COPD stage 4 Home oxygen therapy
2.2.CKD stage 5 มีระดับPPS<40
2.3.Stroke รักษา 6 เดือนแล้ว PPS<40
2.4.Heart failure (functional class 4) with home oxygen
2.5.โรคอื่นๆที่แพทย์พิจารณาเห็นว่ารักษาไม่หาย
และพยาธิสภาพโรคสมองเสื่อมร่วมกับ PPS<40 เช่น Dementia,Alhzimer,
spinal&cord disease,paraplegia,post fracture ในผู้สูงอายุ
3.กลุ่มผู้ป่วยระยะสุดท้าย
1.กลุ่มผู้ป่วยโรคมะเร็งทุกชนิด
การประเมินผู้ป่วยในการดูแลแบบประคับประคอง
1.การประเมิน PPS (Palliative Performance Scale)
2.การประเมินอาการรบกวน
3.การประเมินอาการปวด
4.การประเมิน 2Q
การสื่อสารที่ดีเป็นหัวใจของการดูแลแบบ Palliative ผู้ป่วยที่เข้าใจและประทับใจในตัวผู้บริการมีแนวโน้ม
ที่จะยอมรับความเจ็บป่วย เข้าใจและร่วมมือในการรักษา
และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ดีกว่า
การบอกข่าวร้ายกับผู้ป่วย ใช้แนวปฏิบัติของ
(Robert Buckman)
3.ประเมินความอยากรู้ของผู้ป่วย
4.เผยแพร่ข้อมูลให้ตรงจริง (Sharing information)
5.ไม่ทอดทิ้งนิ่งดูดาย
(Responding to patient and family)
2.สำรวจว่ารู้แค่ไหน
(what does the patient knows)
6.นัดหมายไว้ภายหน้า
(planning adn follow-up)
เตรียมตัวเจรจา
รูปแบบการแสดงปฏิกิริยาของผู้ป่วย
และครอบครัวจากทฤษฎีของ Kubler-Rossและการรับมือกับปฏิกริยาของผู้ป่วย
5.Acceptance ยอมรับจริงๆ
นำความเชื่่อ หลักคิด คำสอนที่ผู้ป่วยศรัทธามาเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ และเสริมพลังการรักษา
4.Depression เมื่อต่อรองไม่เป็นผล ทำให้ซึมเศร้า
ประเมินความรุนแรง
เพื่อให้การรักษาที่เหมาะสม
3.Bargain หายหรือโกรธน้อยลงแล้วจึงต่อรอง
ให้ความมั่นใจว่าเข้าจะได้รับการดูแลอย่างดีที่สุด
ให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วมในการวางแผนการรักษา
2.Anger ยอมรับความจริงได้แล้ว เลยโกรธ
เข้าใจ เห็นใจ ไม่ถือสาอารมณ์โกรธของผู้ป่วย
1.Denial ปฏิเสธ ไม่ยอมรับ
ให้ข้อมูลโรค การดำเนินโรค
และแนวทางการรักษา
แสดงตนว่ารับรู้และเข้าใจผู้ป่วย
บอกผู้ป่วยว่าจะดูแลเขาอย่างดีที่สุด
อาการทางกาย
อ่อนเพลีย
ปวด
หายใจลำบาก
คลื่นไส้ อาเจียน
เบื่ออาหาร
น้ำหนักลด
อาการทางจิตใจ
Emotional distress
เป็นผลจากความกลัวและความกังวลเกี่ยวกับความไม่แน่นอนของการดำเนินโรค การเปลี่ยนแปลงรูปลักษณ์ของตน การปฏิบัติกิจประจำวันได้น้อยลง ขาดงาน ขาดรายได้ ขาดความเชื่อมั่นในตนเอง บทบาทในครอบครัวเปลี่ยนแปลงไป ไม่สามารถทำกิจกรรมที่ชอบได้
การคัดกรองสุขภาพจิตเป็น Routine การดูแล รับฟังและปรึกษาจิตแพทย์ในรายที่รุนแรง
Spirituality 3มิติ
ประสบการณ์ และอารมณ์ (Experiential & emotional aspects)
3.พฤติกรรมที่แสดงออก(Behavioral aspects)
การรับรู้ Cognitive aspectsการรับรู้ความหมายของชีวิต
ความเชื่อ คุณค่าของการมีชีวิต
Spiritual suffering/crisis
ภาวะวิกฤติทางจิตวิญญาณ
เกิดขึ้นเมื่อบุคคลนั้นไม่สามารถหาหลักที่พึ่งพิงได้ในการให้ความหมายของชีวิต ความหวัง ความรัก ความสงบภายใน หรือเมื่อมีความขัดแย้งระหว่างความเชื่อกับสิ่งที่กำลังเกิดขึ้นในชีวิต
การประเมินด้านจิตวิญญาณ
หลักคิดและการให้คุณค่า
สิ่งที่เป็นความหวัง
ความรักและความสัมพันธ์
ศรัทธาและสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจ
สิ่งสำคัญในชีวิต
ศาสนาและกลุ่ม/วัด/
โบสถ์ที่ผู้ป่วยเข้าร่วมกิจกรรม
การปฏิบัติในชีวิตประจำวันของผู้ป่วยที่ทำให้เกิดความสงบภายใน
นำข้อมูลมาวางแผนการดูแลผู้ป่วยเพื่อเสริมพลังด้านจิตวิญญาณ
การดูแลด้านจิตวิญญาณ
มองเห็นและตอบสนอง
ฟังอย่างตั้งใจ
มีความกรุณา
อยู่กับปัจจุบัน
สนับสนุนความหวังที่ไม่เกินจริง
ไม่จำเป็นต้องพูดคุยเรื่องพระเจ้าหรือศาสนา
สรีรวิทยาในระยะเผชิญความตาย
ความอ่อนเพลีย ไม่จำเป็นต้องรักษาเพราะ
จะเกิดผลเสียมากกว่าผลดี
การช่วยขยับและบริหารข้อ หมั่นพลิกตัว
และบีบนวดสัมผัสเบาๆก็เพียงพอ
ความเบื่ออาหาร เป็นผลดีมากกว่าผลเสีย ทำให้มีสารคีโตนในร่างกายเพิ่มขึ้น ทำให้บรรเทาปวด
ดื่มน้ำน้อยลง ภาวะขาดน้ำกระตุ้นให้มีการหลั่ง
สารเอนเดอร์ฟิน
ทำให้รู้สึกสบาย
การเปลี่ยนแปลงของระบบไหลเวียนเลือด ช็อก ชีพจรเต้นเร็ว ปัสสาวะลดลง
การหายใจลำบาก หายใจมีเสียงดัง ญาติตื่นตระหนก กลัวผู้ป่วยทรมาน ความจริงผู้ใกล้ตายไม่ได้รู้สึกเช่นนั้น
การเปลี่ยนแปลงทางระบบประสาท
Difficult road มีอาการ สับสน กระวนกระวาย อาจเพ้อ
กระตุก ชัก และเสียชีวิตในที่สุด
Usual road มีอาการรู้สึกง่วงและหลับตลอดเวลา
จนหมดสติ ตายในที่สุด
การดูแลผู้ป่วยระยะเผชิญความตาย
ลดหรือหยุดยา และวิธีตรวจ/การรักษาที่ไม่จำเป็น
รักษาอาการปวด และอาการรบกวนที่ทำให้ผู้ป่วยทุกข์ทรมาน
สื่อสารบอกผู้ป่วยและครอบครัวด้วยวิธีที่เหมาะสม
ประเมินและตอบสนองความต้องการด้านจิตใจ
วางแผนการดูแลขณะเผชิญความตายของผู้ป่วยร่วมกับครอบครัว
นางสาวญาณิศา พลศักดิ์ 61106010005 B01