Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 9 การฟื้นฟูสภาพ และการเจ็บป่วยเรื้อรังในผู้สูงอายุ - Coggle…
หน่วยที่ 9 การฟื้นฟูสภาพ
และการเจ็บป่วยเรื้อรังในผู้สูงอายุ
การเจ็บป่วยเรื้อรังในผู้สูงอายุ
แนวคิดเกี่ยวกับการเจ็บป่วยเรื้อรังในผู้สูงอายุ
การเจ็บป่วยด้วยโรคที่เมื่อเป็นแล้วจะมีอาการ
หรือต้องรักษาติดต่อกันนาน หรือตลอดชีวิต
เป็นความบกพร่องหรือเบี่ยงเบนจาก
ปกติ 1 อย่าง หรือมากกว่า คือ
มีการเปลี่ยนแปลงอย่างถาวร
มีความพิการหลงเหลืออยู่
พยาธิสภาพที่เกิดขึ้นไม่สามารถกลับคืนสู่ปกติ
ต้องการการฟื้นฟูสภาพ
ต้องการการติดตามอาการ และให้การดูแล
เป็นระยะเวลานาน
สาเหตุ
1.กรรมพันธุ์
อาหาร
สารเคมี/มลพิษ
อุบัติเหตุต่างๆ
เชื้อโรค
สภาพจิตใจ
เสียงดัง แรงสั่นสะเทือน รังสีต่างๆ
ผลกระทบของการเจ็บป่วยเรื้อรัง
ทางร่างกาย
ความสามารถในการภาวะโภชนาการผิดปกติ
ภูมิคุ้มกันบกพร่อง
การรับความรู้สึกและการตอบสนองผิดปกติ
มีข้อจำกัดในการมีเพศสัมพันธ์
ความสามารถในการรับรู้และการดูแลสุขภาพลดลง
ทางจิตสังคม
ครอบครัว
เศรษฐกิจและสังคม
ปัจจัยที่ทำให้เกิดภาวะไร้พลัง (Powerlessness)
ความรู้สึกสูญเสียจากการเจ็บป่วยหาเรื้อรัง
ขาดความรู้และทักษะในการดูแลตนเอง โอกาสในการมีส่วนร่วม
ในการออกความคิดเห็นในการรักษาตนเองถูกละเลย
ขาดแหล่งช่วยเหลือ ขาดพาหนะในการมาพบแพทย์
ต้องอยู่ตามลำพัง
วัฒนธรรมในบางสังคม มองบุคคลที่เจ็บป่วยเรื้อรังเป็นบุคคลที่
ไร้ประโยชน์ไม่สามารถสร้างความเจริญให้กับสังคมได้อีกต่อไป
วิถีทางของการเจ็บป่วย
ช่วงเวลาของการเจ็บป่วยที่ใช้เวลานาน
ถูกกำหนดโดยพยาธิสรีรวิทยา
การเปลี่ยนแปลงทางด้านสุขภาพมีความแตกต่างกันใน
แต่ละบุคคลถึงแม้ว่าจะเกิดโรคเหมือนกัน ก็อาจจะถูกกำหนด
รูปแบบหรือถูกเปลี่ยนแปลงโดยการกระทำของผู้ป่วย ครอบครัว
มี 9 ระยะ
Pretrajection phase
Trajectory phase
Stable phase
Unstable phase
Acute phase
Crisis phase
Come back
Downward phase
Dying phase
การพยาบาลเพื่อควบคุมอาการ
ให้ความรู้ คำแนะนำ และส่งเสริม
ความสามารถในการดูแลตนเอง
ดูแลภาวะโภชนาการ
ให้การพยาบาลแบบองค์รวมที่
เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละราย
ดูแลให้ได้รับยาสม่ำเสมอ
ส่งเสริมการทำกิจกรรมเพื่อลดความวิตกกังวล
การพยาบาลเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน
วางแผนการพยาบาลเพื่อฟื้นฟูสภาพอย่างเหมาะสม
ตั้งแต่อยู่ในโรงพยาบาลต่อเนื่องถึงที่บ้าน
มีการวางแผนติดตามผู้ป่วยให้ปฏิบัติ
การฟื้นฟูสภาพอย่างเป็นระบบ
ให้ความรู้ และข้อมูลต่างๆ ในการฟื้นฟูสภาพ
แก่ผู้ป่วยและญาติ อย่างเพียงพอ
ประเมินความพร้อมของผู้ป่วยและครอบครัว
ในการกลับไปพักฟื้นที่บ้าน
ประสานงานกับโรงพยาบาล และแนะนำแหล่งประโยชน์
ในชุมชนที่สามารถช่วยเหลือฟื้นฟูสภาพต่อไป
การพยาบาลเพื่อป้องกัน
อาการกำเริบรุนแรงซ้ำ
ประเมินความสามารถในการดูแลตนเองของผู้ป่วยและครอบครัว
ให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและครอบครัว เพื่อให้มีทักษะในการดูแลตนเอง
หากผู้ป่วยและครอบครัวไม่เห็นความสำคัญของการดูแลตนเอง
ตามที่ให้คำแนะนำ ต้องประเมินสาเหตุ เพื่อนำมาปรับปรุง แก้ไข
ให้สอดคล้องกับผู้ป่วยแต่ละราย
การพยาบาลเพื่อคงไว้ซึ่งการ
ดำเนินชีวิตอย่างผาสุก
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยเล่าระบายความรู้สึก
มีทัศนคติที่ดีกับผู้ป่วย
ประเมินความสามารถในการปรับตัวของผู้ป่วยเรื้อรัง
ให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในเกี่ยวกับการรักษา
จัดหาแหล่งสนับสนุนทางสังคม ให้ความช่วยเหลือชี้แนะทาง
ด้านการเงินโดยเฉพาะ การสนับสนุนจากบุคคลในครอบครัว
หรือคนใกล้ชิดผู้ป่วย
การฟื้นฟูสภาพ
ลักษณะเฉพาะของผู้สูงอายุ
RAMPS
R : Reduce body reserve
A : Atypical presentation
M : Multiple pathology
P : Polypharmacy
S : Social adversity
การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาในผู้สูงอายุ
การเปลี่ยนแปลงของระบบประสาท
การเปลี่ยนแปลงของระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
การเปลี่ยนแปลงของระบบหัวใจและหลอดเลือด
ความแตกต่างจากผู้ป่วยวัยอื่นๆ
ด้านร่างกาย
มีโรคเรื้อรังหลายโรค การทำงานของระบบต่างๆลดลง
ด้านจิตใจ
ความเชื่อ การเปลี่ยนแปลงด้านอารมณ์
และความรู้สึกนึกคิด ซึมเศร้า
ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม
ปรับตัวเข้ากับสังคมยาก ต้องอาศัยสิ่งแวดล้อมที่เอื้อ
ด้านการตั้งเป้าหมายการรักษา
อุปสรรคของการฟื้นฟูสภาพในผู้สูงอายุ
ปัจจัยด้านร่างกาย
ปัจจัยทางด้านจิตใจ
ปัจจัยทางด้านเศรษฐานะ สังคม และสภาพแวดล้อม
ผู้ป่วยมีหลายโรคและได้รับยาจำนวนหลายชนิด
ความท้อแท้ของผู้ป่วยที่มักจะมีสาเหตุ
จากภาวะของโรคหรือโรคซึมเศร้า
ขาดความต่อเนื่องในการฟื้นฟูสภาพ
เมื่อผู้ป่วยกลับไปอยู่บ้าน
ขั้นตอนของการฟื้นฟูสภาพในผู้สูงอายุ
ตรวจหาโรค หรือปัญหาที่อาจก่อให้เกิดภาวะทุพพลภาพโดยเร็ว
ดำเนินการประเมินผู้สูงอายุอย่างละเอียดโดยครอบคลุม
กำหนดเป้าหมายและแผนการฟื้นฟูสภาพที่เหมาะสม
ดำเนินการฟื้นฟูตามสภาพตามเป้าหมายที่วางไว้
ติดตามประเมินผลเป็นระยะ
กลวิธีในการฟื้นฟูสภาพในผู้สูงอายุ
พัฒนาความสามารถในการทำหน้าที่คงไว้ซึ่งความสมดุลระหว่างการ
ออกกำลังกายกับการพักผ่อน กระตุ้นให้ผู้ป่วยค่อยๆ มีกิจกรรม
สร้างบรรยากาศของการฟื้นฟูสภาพโดยเพิ่มแรงจูงใจ
ให้แก่ผู้ป่วยและบุคลากร
เริ่มให้การฟื้นฟูทันทีที่ผู้ป่วยเข้ามารับการรักษาในโรงพยาบาล
ก่อนที่จะเกิดภาวะแทรกซ้อนหรือทุพพลภาพใหม่เพิ่มเติม
รักษาไว้ซึ่งศักดิ์ศรีของบุคคล ส่งเสริมความภาคภูมิใจ
ในตนเอง การยอมรับนับถือ และความเชื่อมั่น
ส่งเสริมการช่วยเหลือตนเองให้มากที่สุด
การฟื้นฟูสภาพในกลุ่มอาการผู้สูงอายุ
การไม่เคลื่อนไหว (Immobility)
-การเดินไม่มั่นคง (Instability)
การควบคุมการขับถ่ายผิดปกติ (Incomtinence)
ความบกพร่องทางสติปัญญา
(Intellectual impairment
ขั้นตอนในการฟื้นฟูสภาพ
ตรวจหาโรคหรือปัญหาที่อาจก่อให้เกิดภาวะทุพพลภาพโดยเร็ว
ประเมินผู้สูงอายุอย่างละเอียดและครอบคลุม
กำหนดเป้าหมายและแผนการฟื้นฟูที่เหมาะสม
ดำเนินการฟื้นฟูตามเป้าหมายที่วางไว้
ติดตามประเมินผลเป็นระยะๆ
การวางแผนการพยาบาลเพื่อการฟื้นฟูสภาพ
ประเมินภาวะพฤติกรรมและความพร้อมของผู้ป่วย
วางแผนการปฎิบัติเพื่อการฟื้นฟูสภาพ โดยเน้นให้ผู้ป่วยมีความ
สามารถในการดูแลตนเองเกี่ยวกับสุขอนามัยส่วนตัว
การวางแผนการจำหน่ายและส่งต่อ
วางแผนการดูแลที่บ้านให้เร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้
รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่บ้านของผู้ป่วย
ประเมินสภาพของผู้ป่วยตามแบบฟอร์มที่กำหนดของหน่วยงาน
วางแผนร่วมกับผู้ป่วยครอบครัวผู้ดูแล
ให้ความรู้ครอบครัวและผู้ดูแลเพื่อให้
เข้าใจไม่กลัวหรือครับข้องใจที่จะดูแล
ช่วยเหลือการใช้อุปกรณ์ต่างๆให้เหมาะสมกับสภาพของป่วย
ส่งต่อผู้ป่วยไปหน่วยงานอื่นที่ต้องให้การดูแลต่อไป