Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Plant tissue - Coggle Diagram
Plant tissue
Meristem
แบ่งตามหน้าที่
Ground meristem : เป็นเนื้อเยื่อพื้นทั่วไปจะเปลี่ยนไปเป็นเซลล์ในชั้น คอร์เทกซ์ (Cortex) และ เอนโดเดอร์มิส (Endodermis)
Procambium : เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ในสุดของรากซึ่งจะเปลี่ยนแปลงไปเป็นเพอริไซเคิล (Pericycle) วาสคิวลาร์ แคมเบียม
(Vascular cambium) โฟลเอ็มขั้นต้น (Primary phloem) และไซเลมขั้นต้น (Primary xylem)
Protoderm: เป็นส่วนของเนื้อเยื่อที่อยู่นอกสุด กลุ่มเซลล์เหล่านี้อยู่บริเวณที่เรียกว่าเซลล์ยืดตัวและขยายขนาดแล้วค่อย ๆ
เปลี่ยนแปลงต่อไปจนกระทั่งเป็นเนื้อเยื่อถาวรที่เรียกว่า เอพิเดอร์มิส
แบ่งตามบริเวณที่พบ
-
Apical meristem : เนื้อเยื่อเจริญส่วนปลาย พบบริเวณปลายยอดไม้, ปลายราก และตาไม้
Apical shoot meristem: เนื้อเยื่อเจริญส่วนปลายที่พบตามปลายยอดของลำต้นหรือกิ่งก้านเรียก เนื้อเยื่อเจริญปลายยอด
-
-
-
Permanent tissue
Simple permanent tissue
Xylem parenchyma : เป็นกลุ่มเซลล์ที่สนับสนุนการเคลื่อนที่ ของสารไปทางด้านข้างของไซเลม พบกระจายอยู่ระหว่างเทรคีดและเวสเซลและตามแนวรัศมี
Epidermis : เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่รอบนอกสุดของส่วนต่างๆของพืช มักจะมีเพียงชั้นเดียว เซลล์แต่ละเซลล์เรียงตัวกันแน่นไม่มีช่องว่างระหว่างเซลล์ ผนังเซลล์ด้านนอกมักหนากว่าด้านในและมีสารคิวทิน ( cutin )มาเคลือบ
Collenchyma : เป็นเนื้อเยื่อที่มีกลุ่มเซลล์คล้ายพาเรงไคมา แต่มีผนังเซลล์ค่อนข้างจะหนาไม่เท่ากัน ส่วนที่หนามักจะอยู่ตามมุมเซลล์ มีหน้าที่ช่วยให้ส่วนของพืชแข็งแรงทรงตัวอยู่ได้
Sclerenchyma : เป็นเนื้อเยื่อที่ช่วยพยุงและให้ความแข็งแรงแก่ลำต้น มีผนังเซลล์หนามาก มีสารพวก ligninประกอบอยู่ด้วย แบ่งออกเป็น 2 ชนิดคือ fiber และ sclereid
Cork หรือ phellem: เป็นเนื้อเยื่อชั้นนอกสุดของลำต้นและรากของพืชที่มีเนื้อไม้ที่มีอายุมากๆ เป็นสารขี้ผึ้งจึงมีหน้าที่ป้องกันการระเหยของน้ำจากภายในพืช
Complex permanent tissue
Xylem
Tracheid: เป็นเซลล์เดี่ยว มีรูปร่างเป็นทรงกระบอกยาว บริเวณปลายเซลล์แหลม ทำหน้าที่เป็นท่อลำเลียงน้ำและแร่ธาตุต่างๆ
-
Xylem fiber : เป็นเซลล์ที่มีรูปร่างยาวแบบ fiber ผนังหนาปลายเสี้ยม อาจมีผนังกั้นเป็นห้องๆทำหน้าที่ช่วยให้ความแข็งแรงแก่พืช
Parenchyma: เป็นเนื้อเยื่อที่พบทั่วๆไปในพืช เซลล์มีรูปร่างหลายแบบ เช่น ค่อนข้างกลม รี หรือทรงกระบอกเมื่อเรียงตัวติดกันทำให้เกิด ช่องว่างระหว่างเซลล์
Phloem
-
Companion cell : เป็นเซลล์ที่มีความยาวเท่าๆกับ seive tube cell แต่มีขนาดเล็กกว่า คอมพาเนียนเซลล์ทำหน้าที่คอยช่วยเหลือในกรทำงานของซีพทิวโดยเฉพาะเมื่อซีพทิวมีอายุมากขึ้น
Phloem parenchyma : เป็นเซลล์ที่มีลักษณะเหมือน parenchyma ทั่วๆไป มีหน้าที่สะสมอาหาร ดังนั้นจึงอาจะพบผลึก tanninและเม็ดแป้งภายในเซลล์นี้ก็ได้ มักมีในพืชใบเลี้ยงคู่
Phloem fiber : เป็นเซลล์ที่มีลักษณะคล้าย fiber ที่พบทั่วไป มีหน้าที่ช่วยทำให้ phloem แข็งแรงยิ่งขึ้น