Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 การประเมินการตรวจร่างกาย (4) - Coggle Diagram
บทที่ 3
การประเมินการตรวจร่างกาย (4)
การตรวจช่องท้อง
แบ่งหน้าท้องเป็น 4 ส่วน
Right lower quadrant (RLQ) คือ ส่วนล่างขวา
Right upper quadrant (RUQ) คือ ส่วนบนขวา
Leftlowerquadrant(LLQ) คือ ส่วนล่างซ้าย
Left upper quadrant (LUQ) คือ ส่วนบนซ้าย
แบ่งออกเป็น 9 ส่วน
Hypochondrium ขวา
Epigastrium
Hypochondrium ซ้าย
Lumbar region ขวา
Umbilical area
Lumbar region ซ้าย
Inguinal region ขวา
Hypogastrium หรือ Suprapubic region
Inguinal region ซ้าย
อุปกรณ์ที่ใช้การตรวจช่องท้อง
หูฟัง (stethoscope)
ถุงมือสะอาด
สายวัด
ผ้าคลุม
การดู
ดูรูปร่างลักษณะท้องว่าปกติ สมมาตรกันหรือไม่หรือท้องโตหรือท้องแฟบ โดยอาจมองจาก ด้านปลายเท้าของผู้รับบริการ
ดูผิวหนังหน้าท้อง สีผิว รอยแผลผ่าตัด รอยจ้่า เลือดและหลอดเลือดที่ผนังท้องว่าโป่งพอง หรือไม่
ผนังหน้าท้องเคลื่อนไหวเป็นปกติตามการ หายใจหรือไม่ หรือมีการเต้นที่ผิดปกติ มีการเคลื่อนที่ผิดปกติ
ลักษณะสะดือ
สังเกตบริเวณขาหนีบทั้งสองข้าง
การฟัง
ใช้ chest piece ด้าน Diaphragm วางบนหน้าท้องบริเวณ umbilical area เพื่อฟังเสียงที่เกิดจากการบีบตัวของล่าไส้ ซึ่งเรียกว่า Bowel sound
• การที่จะสรุปว่าไม่ได้ยินเสียงการเคลื่อนไหวของล่าไส้ ควรใช้เวลาฟังอย่างน้อย 3 นาที ก่อนที่จะบอกว่าไม่ได้ยินเสียง
• สังเกตลักษณะเสียงและนับจ่านวนครั้งต่อนาที
เคาะ
•จะเคาะทั่วหน้าท้องเพื่อดูสภาพของช่องท้องโดยทั่วไป
•จะค้นหาต่าแหน่งที่เคาะเจ็บ (localized tenderness)
•ถ้าหากต้องการตรวจอวัยวะตื้นให้เคาะเบา แต่ถ้าหากต้องการตรวจอวัยวะลึกให้ เคาะแรงขึ้น
•การเคาะต้องสังเกตดูว่าเสียงเคาะ
ปกติโปร่ง
หรือ
ทึบผิดปกติ
•ต่าแหน่งที่ใช้เคาะท้อง การเคาะหาขอบเขตของอวัยวะหรือสิ่งที่คาดว่าจะผิดปกติ จะเคาะจากส่วนที่โปร่งไปหาส่วนที่เคาะทึบ โดยวางนิ้วมือให้ขนานกับแนวที่คาดว่า เสียงจะเปลี่ยน
การคลำ
การคลำตื้นการคลำเบา
เริ่มด้วยการคลำตื้นหรือคลำเบา(lightpalpable)ทั่ว ท้อง สังเกตว่ากล้ามเนื้อหน้าท้องตึงหรือกดเจ็บบริเวณใด
ขณะตรวจให้สังเกตสีหน้าของผู้รับบริการด้วย
การคลำให้ค้นหา การกดเจ็บ (tenderness) การเกร็ง (spasm)
การแข็งเกร็งของกล้ามเนื้อตลอดเวลา (rigidity)
เมื่อคลำตื้นทั่วทั้งท้องแล้ว ในช่องท้อง ซึ่งอาจพบ ขอบตับ
ขอบม้าม ขั้วล่างของไตขวา กระเพาะปัสสาวะ (ในรายที่โป่ง)
ล่าไส้ใหญ่ (ที่ขยาย) และ abdominal aorta
การคลำลึกหรือคลำสองมือ
กรณีพบก้อนต้องระบุต่าแหน่ง ขนาด รูปร่าง ผิวก้อน ขอบ ความแน่น การกดเจ็บ การเคลื่อนที่ (mobility)การสั่นสะเทือน (pulsation)
กาาตรวจอวัยวะสืบพันธ์ุ
การตรวจอวัยวะสืบพันธ์ุชาย
ให้สังเกตขนบริเวณหัวเหน่า ผิวหนังบริเวณนี้ ตรวจองคชาต หนังหุ้มปลาย รูเปิดท่อปัสสาวะ ลูกอัณฑะ คลำว่าอัณฑะอยู่ในถุงทั้งสองข้างหรือไม่ และ ขนาดปกติหรือไม่ คลำหาก้อนที่ผิดปกติหรือบริเวณกดเจ็บ
การตรวจอวัยวะสืบพันธ์ุหญิง
สังเกตการพัฒนาของอวัยวะสืบพันธุ์ การกระจายของขน ผิวหนัง labia maiora และ minorg ช่องคลอดและฝีเย็บ ตรวจ clitoris และรูเปิดท่อปัสสาวะว่ามี การอักเสบ มีสิ่งคัดหลั่งหรือไม่ สังเกต ก้อน แผล หรือรอยโรคต่างๆ บริเวณนี้ และ บริเวณขาหนีบ
การตรวจทวารหนัก
สังเกตดู
บริเวณผิวหนังรอบทวารหนักว่าปกติหรือไม่ มีริดสีดวงทวาร (external hemorrhoid) หรือไม่ มีส่วนใดยืนย้อยออกมานอกทวารหนักหรือไม่ มีรอยเกา การ ฉีกขาดหรือมีการอักเสบหรือไม่ และให้ผู้รับบริการเบ่ง เพื่อดูการปลิ้นออก (prolapse) ติ่งเนื้อ (polyp) ริดสีดวงทวาร (internal hemorrhoid) ถุงน้ำ (Cyst) การมีร่อง (fissure) ภารฉีกขาด และการอักเสบ
การคลำ
มือซ้ายแหวกกันใหเ้ห็นทวารหนักแนะน่าให้
ผู้รับบริการ
หายใจเข้าออกลึก ๆ เพื่อการผ่อนคลาย เมื่อกล้ามเนื้อหูรูดทวารหนักผ่อน คลายแล้ว แนะนำให้ผู้รับบริการทำท่าเบ่งอุจจาระ ผู้ตรวจใช้นิ้วชี้ซึ่งใส่ถุงมือ และหล่อลื่อแล้วสอดผ่านทวารหนักเข้าไป ตามช่องทวารหนัก เบาๆ และ ช้าๆ โดยสอดนิ้วในทิศทางชี้ไปทางสะดือ