Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย, นางสาว พรสุดา ฉันงูเหลือม 6240120111 …
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
แบบสอบถาม(Questionnaire)
ลักษณะทั่วไป
หมายถึง คำถามที่สร้างเพื่อรวบรวมข้อมูลในด้านต่างๆ
ลักษณะของแบบสอบถามที่ดี
ต้องถามให้ครอบคลุมคำตอบที่ต้องการ
คำถามจะต้องมีลักษณะยั่วยุ และน่าตอบ
คำคามต้องง่ายในการตอบ
คำชี้แจงในการทำแบบทดสอบต้องชัดเจน
คำถามควรสั้นและชัดเจน
คำถามที่ถาม ผู้ตอบจะต้องมองเห็นความสำคัญและร่วมมือที่จะใหเคำตอบ
ข้อดีของแบบสอบถาม
ง่ายต่อการนำไปวิเคราะห์
ความลำเอียงจากผู้วิจัยมีน้อย
การตอบในแบบสอบถามผู้ตอบจะพอใจมากกว่าการสัมภาษณ์
ผู้ตอบมีเวลาตอบเพียงพอที่จะหาคำตอบอย่างแท้จริง
สามารถเก็บรวบรวมข้อมูลได้เร็ว
แบบสอบถามไปถึงมือผู้ตอบเวลาใกล้เคียงกัน
เป็นเครื่องมือที่สะดวก ประหยัด
ข้อเสนอแนะในการใช้แบบสอบถาม
ควรมีการวางแผนในการสร้าง
ควรมีคำชี้แจงที่ทำให้ผู้ตอบสบายใจ
คำนึงถึงผู้ตอบว่าเป็นใคร มีความสามารถตอบหรือไม่
การส่ง ภ้าส่งด้วยตนเอง อาจสามารถรอคำตอบได้ แต่ถ้าส่งไปรษณีย์ควรอำนวยความสะดวกในการส่งคืน
ไม่ควรใช้เวลานานไปในการตอบ
ข้อเสีย(ข้อจำกัด)ของแบบสอบถาม
การตรวจสอบเรื่องความเชื่อมั่น
คำถามบางคำถามอาจไม่ชัดเจน
การใช้ถ้อยคำและภาษาที่รัดกุมได้ยาก
ผู้ตอบอาจไม่ได้ตั้งใจตอบ
บางคนเบื่อตอบเพราะได้รับแบบสอบถามย่อยๆ
ผู้ตอบจะต้องเป็นผู้อ่านออกเขียนได้เท่านั้น
ต้องถามสั้นกระทัดรัด
ใช้เวลาเตรียมนาน
มักจะได้รับแบบสอบถามคืนมาน้อย
การสัมภาษณ์ (lnterview)
ลักษณะทั่วไป
การสัมภาษณ์ หมายถึง บทสนทนาหรือการซักถามโดยมีจุดมุ่งหมายที่แน่นอนระหว่างบุคคล 2 ฝ่าย คือ ผู้สัมภาษณ์และผู้ถูกสัมภาษณ์
ชนิดของการสัมภาษณ์
การสัมภาษณ์แบบมีเค้าโครงร่วงหน้า
เป็นการสัมภาษณ์ที่ได้เตรียมคำถามไว้เเรียบร้อยแล้ว และะทำการสัมภาษณ์ไปตามคำถามหรือแบบสัมภาษณ์ที่เตรียมไว้
การสัมภาษณ์แบบไม่มีเค้าโครงร่วงหน้า
เป็นแบบการสัมภาษณ์ที่ไม่มี ข้อคำถามอยู่ในมือเหมือนแบบแรก คำถามที่จะถามขึ้นอยู่กับผู้สัมภาษณ์มีการยืดหยุ่นได้มาก ไม่มีข้อกำหนดหรือกฎเกณฑ์ตายตัว
ลำดับขั้นการสัมภาษณ์
การลงมือสัมภาษณ์
การสรุปผล และแปลความหมายของคำสัมภาษณ์
การนัดหมาย
การติดตามหรือประเมินผลการสัมภาษณ์
การเตรียมงาน
ลักษณะของการสัมภาษณ์ที่ดี
ผู้สัมภาษณ์จะต้องฟังมากกว่าพูด
คำถามที่ถาม พยายามให้ได้คำตอบที่ตรงจุดที่ต้องการ
จะต้องยั่วยุหรือกระตุ้นเตือนให้ผู้สัมภาษณ์อยากตอบ
การสัมภาษณ์ ควรมีแบบฟอร์มเป็นคู่มือว่าจะถามอะไรบ้าง
ข้อดีของการสัมภาษณ์
สามารถใช้บุคคลทุกระดับการศึกษา
เป็นวิธีที่ช่วยให้ได้ข้อมูลเพิ่มเติม
การสัมภาษณ์จะกระตุ้นให้ผู้สัมภาษณ์ ให้ความร่วมมือดีกว่าการเขียนตอบ
มีลักษณะยืดหยุ่นได้มาก สามารถดัดแปลงให้เหมาะสมกับบุคคล
ช่วยให้นักวิจัยมีมนุษย์สัมพันธ์ เข้าถึงคนทั่วไป
ข้อเสนอแนะในการสัมภาษณ์
ควรยึดมั่นในความรู้สึกเป็นกลาง
ควรฟังคำตอบของผู้สัมภาษณ์ด้วยความตั้งใจ
จดโน๊ตของคำตอบต่างๆ
ทบทวนคำถามถ้าจำเป็น
การจดบันทึกมีความสำคัญมาก
ควรสัมภาษณ์ครั้งละ 1 คำถาม
ให้กลวิธีและทักษะต่างๆ เพื่อควบคุมไม่ให้ผู้ตอบออกนอกเรื่อง
ควรหลีกเลี่ยงการแนะนำคำตอบ
ควรังเกตอากัปกิริยาท่าทาง และน้ำเสียงของผู้สัมภาษณ์
ไม่ควรแสดงอาการโกรธ ตกใจ หรืออารมณ์อื่นๆ เมื่อได้ยินคำตอบที่ไม่เป็นไปตามที่คาดหวังไว้
ให้เวลาแก่ผู้ตอบอย่างเพียงพอ
ควรพยายามให้ผู้สัมภาษณ์เข้าใจคำถาม
ข้อเสีย(ข้อจำกัด)ของการสัมภาษณ์
ผู้สัมภาษณ์อาจไม่ได้ความจริงบางอย่าง
เสียเวลา แรงงาน และงบประมาณมาก
ความจริงบางอย่างที่ผู้ถูกสัมภาษณ์ไม่กล้าตอบ
ข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์อาจถูกบิดเบือนโดยความจงใจของผู้ให้สัมภาษณ์
การสัมภาษณ์มักไม่เป็นบรรยากาศที่เรียบร้อยดังที่คิด
ต้องใช้คนที่มีความรู้ ความสามารถในการสัมภาษณ์
การสังเกต (Observation)
ชนิดของการสังเกต
การสังเกตแบบมีส่วนร่วม
เป็นวิธีการสังเกตที่ผู้สังเกตเข้าไปร่วมอยู่ในหมู่หรือกลุ่มบุคคลที่จะสังเกตเป็นสมาชิกคนนึงของกลุ่ม และทำกิจกรรมร่วมกัน
การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม
เป็นวิธีการสัเกตที่ผู้สังเกตอยู่วงนอกกลุ่มผู้ถูกสังเกต กระทำตนเป็นบุคคลภายนอก โดยไม่เข้าร่วมกิจกรรมของกลุ่มที่กำลังสังเกตอยุ่
ลักษณะทั่วไป การสังเกต หมายถึง การเฝ้าติดตามดูแลอย่างเอาใจใส่ ดูความเป็นไป และการเปลี่ยนแปลง ของสิ่งที่ต้องการศึกษาอย่างใกล้ชิดในระยะเวลาที่กำหนดไว้
ลักษณะของการสังเกตที่ดี
จะต้องมีจุดมุ่งหมายในการสังเกตที่แน่นอนว่าจะสังเกตอะไร สังเกตใคร ที่ไหน เวลาใด
จะต้องมีการวางแผนทุกครั้ง
จะต้องมีการจดบันทึก เมื่อมีการสังเกตแล้วรีบบันทึกทันที
ข้อมูลที่สังเกตควรตรวจสอบ
ข้อมูลควรเป็นเชิงปริมาณ หรือ จำนวน
ผู้สังเกตต้องเชี่ยวชาญ
ข้อดีของการสังเกต
ช่วยเก็บข้อมูลบางชนิดที่ผู้ถูกศึกษา ไม่เต็มใจบอกเล่าเป็นลายลักษณ์อักษร
ช่วยเก็บข้อมูลจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริงๆ ได้โดยทันที
ช่วยเก็บข้อมูลจากการรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการอื่นให้ครบถ้วนสมบูรณ์ยิ่งขึ้น
ข้อเสียของการสังเกต
การสังเกตไม่สามารถเก็บรวบรวมข้อมูลบางอย่าง ที่เจ้าของเหตุการณ์ไม่ยอมให้ผู้วิจัยเข้าไปสังเกตได้
การสังเกตไม่สามารถเก็บรวบรวมข้อมูลได้ทั่วถึงครบถ้วนทุกแง่มุมของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
การสังเกตบางอย่างไม่สามารถจะรอให้เหตการณ์เช่นนั้นเกิดขึ้นได้บ่อยๆ
การสังเกตอาจได้ข้อมูลที่มีความเชื่อถือน้อยหรือไม่น่าเชื่อถือ ถ้าผู้สังเกตเอาความรู้สึกส่วนตัวไปพัวพัน
ถ้าผู้สังเกตรู้ตัวจะไม่แสดงพฤติกรรมที่แท้จริงออกมา ซึ่งจะทำให้ผลของการสังเกตผิดพลาด คลาดเคลื่อนได้
ข้อเสนอแนะในการสังเกต
ควรมีการตรวจสอบ ความถูกต้องแม่นยำของข้อมูล
ควรเตรียมรายการหรือแบบฟอร์มที่จะทำการสังเกตให้ชัดเจน
หาวิธีการต่างๆ ที่จะช่วยให้การสังเกตเป็นไปอย่างเชื่อถือได้ ไม่คลาดเคลื่อนจากความเป็นจริงเท่าที่จะสามารถทำได้
ควรวางแผนในการสังเกตรอบคอบ รัดคุม ชัดเจน
แบบทดสอบ(Test)
ลักษณะทั่วไป
หมายถึง คำถามที่ชักนำให้ผู้ทดสอบแสดงพฤติกรรมที่วัดความสามารถทางสมอง
ประเภทของแบบทดสอบ
แบบทดสอบวัดความถนัด
แบบทดสอบวัดบุคคลและสังคม
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
ข้อดีของแบบทดสอบ
ใช้สะดวกเก็บข้อมูลได้เยอะ
ใช้เป็นหลักฐานในการวัดผล การศึกษาในปัจจุบันทุกระดับ
ข้อเสีย(ข้อจำกัด)ของแบบทดสอบ
มีความคลาดเคลื่อนเนื่องจากเป็นการวัดทางอ้อม
ข้อเสนอแนะในการใช้แบบทดสอบ
สามารถควบคุมตัวแปรอื่นๆ ที่มีผลต่อการอบรมได้
สามารถแปลคะแนนที่ได้จากการสอบถูกต้อง มีหลักเกณฑ์เป็น ปรนัย เชื่อถือได้
ข้อสอบที่มีคุณภาพดี จะต้องมีข้อมูลสนับสนุน
พยายามใช้แบบทดสอบที่ใช้ได้ถูกต้องตรงตามกับความต้องการ
ลักษณะของเครื่องมือที่ดี
เครื่องมือที่ดีต้องมีความเที่ยงตรง
ความเที่ยงตรงตามสภาพ
ความเที่ยงตรงตามพยากรณ์
ความเที่ยงตรงตามโครงสร้าง
ความเที่ยงตรงเนื้อหา
หมายถึง สามารถวัดได้ตรงตามจุดประสงค์
เครื่องมือที่ดีต้องมีประสิทธิภาพ
เครื่องมือที่ดีต้องมีอำนวจจำแนก
หมายถึงแบ่งแยกได้ว่า ดี-ไม่ดี มากกว่า-น้อยกว่า
เครื่องมือต้องมีความเชื่อมั่นได้
หมายถึง วัดได้คงที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงเลยสักครั้ง
นางสาว พรสุดา ฉันงูเหลือม 6240120111
สาขาพุทธศาสนศึกษา ชั้นปีที่ 3