Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดความปวดและความปวดในระยะคลอด - Coggle Diagram
แนวคิดความปวดและความปวดในระยะคลอด
ความปวดในระยะคลอด
การรับรู้ถึงความรู้สึกไม่สุขสบายที่มารดาระยะคลอดไม่ต้องการให้เกิดขึ้น แต่อาจไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้
ความเจ็บปวด
ในทุกระยะของการคลอด
ระยะที่ 3 ระยะทารกคลอดจนถึงรกคลอด
ระยะที่ 4 คือระยะที่รกคลอดจนถึง 2 ชั่วโมงหลังคลอด
ระยะที่ 2 คือ ระยะปากมดลูกเปิดหมดจนถึงทารกคลอด
ระยะที่ 1 คือ เริ่มเจ็บครรภ์จริงจนถึงปากมดลูกเปิดหมด
จำแนกความปวดที่เป็นอาการ
เจ็บครรภ์เตือน
ปวดไม่รุนแรง ไม่สม่ำเสมอ ไม่สัมพันธ์กับการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูก ไม่มีมูกเลือด
เจ็บครรภ์จริง
ปวดบริเวณด้านหลังร้าวไปหน้าท้องและต้นขาทั้งสองข้าง สัมพันธ์กับการหดรัดตัวของมดลูก มดลูกจะหดรัดตัวสม่ำเสมอถี่ขึ้น มีมูกปนเลือดออก
ความปวดของมารดาระยะคลอด
ความปวดแบบเฉียบพลัน
ชนิด nociceptive pain
ลักษณะความปวด
ชี้ตำแหน่งที่ปวดได้
• ปวดเหมือนมีดบาด (sharp)
• ปวดตุ๊บ ๆ (throbbing)
• ปวดแบบตื้อ ๆ (aching)
การประเมินความปวด
•ประวัติการใช้ยา
•เครื่องมือในการประเมิน
Visual scale
Questionnaires
Anatomic drawing
•การตรวจทางร่างกาย
บทบาทพยาบาลในการจัดการความปวด
ไม่ใช้ยา
การผ่อนคลาย
จัดสิ่งแวดล้อมให้
ได้รับความสะดวกสบาย
จัดการความสุขสบายทั่วไป
ลดความวิตกกังวล/ความกลัว
การกระตุ้นสัมผัสทางผิวหนัง
นวดด้วยตนเอง
นวดโดยผู้ดูแล
นวดกดจุด
การกระตุ้นด้านจิตใจ
การจินตภาพ
การเพ่งจุดสนใจ
การใช้น้ำบำบัด
การหายใจ
เริ่มต้น หายใจแบบ Cleansing breath จะเป็นการหายใจเข้าลึกๆ แล้วค่อยๆ ผ่อนลมหายใจออก
1) การหายใจแบบช้า ในระยะปากมดลูกเปิดไม่เกิน 3 ซม
2) การหายใจแบบเร็ว ตื้น และเบา ในระยะปากมดลูกเปิด 4-7 ซม
3) การหายใจแบบเร็ว ตื้น เบา และเป่าออก ระยะปากมดลูกเปิด 8-10 ซม
ใช้ยา
ยาระงับปวดและยากล่อมประสาท
meperidine
ยาระงับความรู้สึกเฉพาะบริเวณ
spinal block
epidural block
กลไกความปวด
ในระยะคลอด
ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงอัตราส่วนระหว่าง estrogen/progesterone
ทฤษฎีอายุของรก
(Placental aging theory)
ทฤษฎีความดัน
(Pressure theory)
ทฤษฎีฮอร์โมนคอร์ติซอลของทารก
(Fetal cortisol theory)
ทฤษฎีการกระตุ้นฮอร์โมนพรอสตาเกนดิน
(Prostaglandin theory)
ทฤษฎีการกระตุ้นฮอร์โมนเอสโตรเจน
(Estrogen stimulation theory)
ทฤษฎีการขาดฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน (Progesterone withdrawal theory)
ทฤษฎีการกระตุ้นฮอร์โมนออกซิโทซิน
(Oxytocin stimulation theory)
ทฤษฎีการยืดขยายของมดลูก
(Uterine stretch theory)
วิธีลดปวดที่สามารถปฎิบัติ
ได้จริงในห้องคลอด
การกระตุ้นประสาทส่วนปลาย
การสัมผัสและการนวด (Touching and massage)
ช่วยให้มารดาที่ถูกสัมผัสมีความปวดลดลง จากการสั่งงานของสมอง ไปปิดประตูการส่งข้อมูลความปวดที่ไขสันหลัง
ช่วยกระตุ้นเส้นใยประสาทขนาดใหญ่ ทำให้ยับยั้งเซลล์ส่งกระแสประสาทที่ไขสันหลัง ไม่ส่งข้อมูลความปวดไปที่สมอง
ตำแหน่งที่ควรนวด
ท้อง คอ หลัง ไหล่ แขน ขา
แสดงถึงความดูแลเอาใจใส่และการต้องการให้ความช่วยเหลือต่อมารดา