Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 11 การบริหารยาในผู้สูงอายุและการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล,…
หน่วยที่ 11 การบริหารยาในผู้สูงอายุและการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
(Drugs administration in the elderly)
ปริมาณจำนวนผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้นและมีอายุยืนยาวขึ้น
มีการใช้ยาในการรักษาโรคหลายชนิด
ความก้าวหน้าทางการแพทย์มากขึ้น
มีการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาตามวัย
โรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ
โรคความดันโลหิตสูง
โรคสมองเสื่อม
โรคทางด้านจิตใจ
โรคกระดูกและข้อ
โรคเบาหวาน
เภสัชวิทยาในผู้สูงอายุ
1.การเปลี่ยนแปลงทางเภสัชจลนศาสตร์
(Pharmacokinetic)
การดูดซึม(Absorption)
decrease splanchnic blood flow
reduced gastrointestinal motility
delayed gastric emptying
reduced surface area
increase gastric pH
reduced gastrointestinal secretions
การกระจายตัว (distribution)
reduced total body water
reduce serum albumin
increase alpha1-acid
glycoprotein concentration
reduced lean body mass
reduced hepatic and renal blood flow
reduced cardiac output
increase body fat
การทำลายยา (Metabolism)
reduced liver size
reduced hepatic blood flow
reduced enzyme activity
การกำจัดยา (Elimination)
ไต ทำหน้าที่ขับยาออกในรูปสารละลายในปัสสาวะ
ปอด ทำหน้าที่ขับยาออกในรูปก๊าซ
reduced creatinine clearance
reduced glomerular filtration rate
reduced renal blood flow
reduced number of
functioning nephrons
2.การเปลี่ยนแปลงทางเภสัชพลศาสตร์ (Pharmacodynamic)
เป็นกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับยากระทำกับร่างกาย
Dopaminergic system
Dopamine receptors ชนิด 2D ลดลงใน striatum
จะทำให้เกิดอาการ Parkinsonism ขึ้น
ระวังในการให้ยาต้านอาการทางจิต
Cholinergic system
เอนไซม์ choline acetyltransferase ลดลง
Ach ลดลงการทำงานของ cholinergic system ลดลงซึ่งมีความสัมพันธ์กับการเกิดAlzheimer's disease
ระวังในการให้ยาชนิด Anticholinergic ในผู้สูงอายุ เนื่องจากอาจเกิด Anticholinergic delirium
Adrenergic system
-cAMP เป็นตัววัดการทำงานของ Beta-adrenergic receptor ในผู้สูงอายุ
การสร้าง cAMP ลดลงและจำนวน adrenoreceptor ลดลง
-เมื่อถูกกระตุ้นด้วย adrenergic agonist adrenoreceptor affinity ลดลง
การตอบสนองของ adrenoreceptor จึงลดลง
ระวังการให้ยากลุ่มนี้เนื่องจากประสิทธิภาพอาจไม่ดี
Gabaminergic system
-การให้ยากลุ่ม benzodiazepines ทำให้ psychomotor performance เสียไป
-การตอบสนองต่อ GABA ของ Postsynaptic receptor ลดลง
กลุ่มยาที่ใช้บ่อยและอาจทำให้เกิดอาการ
ไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาในผู้สูงอายุ
Cardiovascular drugs
Gastrointestinal Drugs : Cimetidine ให้ระวังในผู้ป่วยหนัก อาจทำให้เกิดจิตสับสนได้
-มีผลยับยั้งการทำงานของ cytochrome P450 ในตับ มีผลต่อ half life ของยา เช่น warfarin,phenytoin ดังนั้น
ให้ระวัง drug interaction เมื่อให้ยาร่วมกัน
Diabetes drugs : sulfoylurea
ทำให้มีระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ
NSAIDs รักษาอาการปวด ควรเลือกใช้ยากลุ่มนี้เพราะออกฟทธิ์สั้น
ทำให้เกิดแผลหรือเลือดออกในกระเพาะมากที่สุด
Psychotropic drugs ใช้รักษาโรควิตกกังวล นอนไม่หลับ
Antimicrobial drugs โรคการอักเสบติดเชื้อที่พบบ่อยคือ โรคทางระบบหายใจ ระบบทางเดินปัสสาวะ ควรต้องมีการปรับขนาดยาที่จะใช้เพื่อป้องกันพิษที่จะเกิดขึ้นกับไตและอวัยวะอื่นๆ
ยาที่ใช้ในโรค Alzheimer
เน้นไปที่ยา cholinominetic drugs
ได้แก่ tacrine donepezil ใช้รักษาอาการ dementia
การเกิดปฏิกิริยาต่อกันของยากับยาและยากับอาหารในผู้สูงอายุ
Aspirin รับร่วมกับ Heparin,warfarin =เลือดออกแล้วหยุดยาก
ยากลุ่ม Cardiac glycosides รับร่วมกับ Quinidine = พิษที่หูและไตได้รุนแรงขึ้น
ยาช่วยในการเต้นของหัวใจรับร่วมกับกาแฟ = หัวใจเต้นผิดจังหวะ
พฤติกรรมการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาด้วยตนเอง
1.ต้องมีความสามารถในการบริหารยา
2.ต้องมีความสามารถในการตัดสินใจ
เกี่ยวกับการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล
การใช้ยาตามแพทย์สั่ง
Concordance คือการใช้ยาในกรณีที่มีข้อตกลงให็โอกาสผู้ป่วยได้ตัดสินใจ
ในการใช้ยาของตนเอง
Adherence คือ การปฏิบัติตามข้อตกลง
ที่เกิดขึ้นระหว่างแพทย์กับผู้ป่วย
Compliance คือ การปฏิบัติตามคำสั่งใช้ยา
ปัจจัยที่ส่งต่อพฤติกรรมการใช้ยาในผู้สูงอายุ
ความจำของผู้สูงอายุ
ความเชื่อและทัศนคติ
ความรู้ของผู้สูงอายุ
การใช้ยาหลายชนิดและความ
ซับซ้อนของแผนการใช้ยา
การได้รับข้อมูลที่เกี่ยวกับยา
ปัญหาการใช้ยาในผู้สูงอายุ
ปฏิกิริยาไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา
เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา
ความคลาดเคลื่อนทางยา
ความไม่ร่วมมือในการใช้ยา
บทบาทของพยาบาลที่เกี่ยวข้องกับ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
1.บทบาทในการบริหารยาให้แก่ผู้ป่วยโดยตรง
2.บทบาทในการสั่งใช้ยาซึ่ง
จะต้องเป็นไปตามพระราชบัญญัติวิชาชีพพยาบาล
3.บทบาทในการส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีพฤติกรรมการใช้ยาที่ปลอดภัยโดยคำนึงถึงประสิทธิภาพของการรักษาและความปลอดภัยของผู้ป่วยเป็นสำคัญ
นางสาวญาณิศา พลศักดิ์ 61106010005 B01