Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินสุขภาพในทารกและเด็ก - Coggle Diagram
การประเมินสุขภาพในทารกและเด็ก
Primitive Reflexes
Palmar grasp reflex : ใช้ปลายนิ้วแตะกลางฝ่ามือของทารกแล้วกดเบาๆ ทารกตอบสนองโดยงอนิ้วมือทุกนิ้วเพื่อกานิ้วมือ ของผู้ตรวจ
Plantar reflex :1.ปลายนิ้วชี้กดกลางฝ่าเท้าของทารก ทารกจะงอนิ้วเท้า
ใช้เล็บนิ้วขีดขอบฝ่า เท้าด้านนิ้วก้อย โดยขีดจากส้นเท้าไปทาง นิ้วก้อยแล้วโค้งไปทางนิ้วหัวแม่เท้า
Moro reflex หรือ Startle reflex (การผวา)
1) ทารกนอนหงายบนที่นอน ผู้ทดสอบตบมือให้เ กิดเสียงดังข้างหูทารกหรือตบที่นอนที่ทารกนอน
2) ทารกนอนเอนตัวบนฝ่ามือและแขนสองข้างของผู้ตรวจ ฝ่ามือและแขนรองรับศีรษะ หลัง ก้น และขา ข้อศอกของผู้ตรวจวางบนที่นอน เหยียดข้อศอกอย่างเร็ว เพื่อให้ทารกเอนตัวลง
3) ทารกอยู่ในท่าครึ่งนั่งครึ่งนอนบนฝ่ามือสองข้างของผู้ตรวจ ฝ่ามือหนึ่งรองรับศีรษะและหลัง อีกฝ่ามือ รองรับก้นและขา เปลี่ยนท่าของทารกจากนั่งเป็นนอนราบทันทีทันใด แล้วหยุดทันที
Placing reflex :ใช้มือประคองที่ใต้รักแร้สองข้างและหัวแม่มือประคองด้านหลังของศีรษะ ยกทารกให้ตัวตั้งตรง ให้ หลังเท้าสัมผัสขอบโต๊ะ
Stepping reflex : ใช้มือประคองที่ใต้รักแร้สองข้างและหัวแม่มือประคองด้านหลังของศีรษะ ยกทารกให้ตัวตั้งตรง ให้ฝ่าเท้าของทารกสัมผัสพื้นที่แข็งและโน้มตัวทารกไปข้างหน้า
Rooting reflex:ขณะศีรษะทารกอยู่แนวกึ่งกลางลาตัว ทดสอบโดยใชน้ ิ้วเขี่ยแก้มหรือมุมปากของทารก
Sucking reflex : ทารกดูดเมื่อมีของเข้าปาก
Tonic neck reflex (ท่าฟันดาบ fencing position) :ให้ทารกนอนหงาย แล้วหันหน้าไปด้านหนึ่งทันทีทันใด โดยให้คางอยู่เหนือหัวไหล่
Trunk incurvation reflex (Galant's) : ใช้มือรองหน้าอก ยกตัวของทารกขึ้นในท่านอนคว่ำใช้นิ้วชี้เขี่ยหลังทารกที่ตาแหน่งห่างจากแนว กระดูกสันหลัง 1 ซม. โดยเคลื่อนนิ้วชี้จากต้นคอไปทางก้น ขนานกับแนวกระดูกสันหลัง
การตรวจร่างกายในเด็ก
วัดความยาว หรือส่วนสูง เป็นตัวชี้วัดการเจริญเติบโตโดยทั่วไปได้ดีที่สุด ได้มาจากผลของการเจริญเติบโตของ กระดูกอย่างเดียวทำให้มีการผันแปรน้อย การวัดความยาวหรือส่วนสูงสาหรับเด็กแรกเกิด – 2 ปีและโดยใช้สายวัด ความ ยาวทาบจากส่วนสูงที่สุดของศีรษะถึงส้นเท้า โดยให้สายวดั วางแนบส่วนคอ หลัง ก้น และข้อพับ ขาโดยตลอด
การชั่งน้าหนัก: เป็นวิธีประเมินการเจริญเติบโตที่นิยมใช้มากที่สุด เนื่องจากเป็นวิธีที่สะดวก และผิดพลาดน้อยที่สุด รวมทั้งนิยมใช้ในการประเมินภาวะโภชนาการของเด็ก
การนับอัตราการหายใจ
แรกเกิด - 1 เดือน หายใจ 40 – 60 คร้ัง/นาที
1 – 12 เดือน หายใจ25 – 50 คร้ัง/นาที
1 – 8 ปี หายใจ15 – 30 คร้ัง/นาที
15 ปี– ผู้ใหญ่ หายใจ12 – 20 คร้ัง/นาที
การนับชีพจร
แรกเกิด – 1 อัตราการเต้น120 – 160 ครั้ง/นาที
1 – 12 เดือนอัตราการเต้น 100 – 120 ครั้ง/นาที
1 – 8 ปีอัตราการเต้น80 – 100 ครั้ง/นาที
9ปี - ผู้ใหญ่ อัตราการเต้น60–100 ครั้ง/นาที
การวัดอุณหภูมิ
อุณหภูมิร่างกายปกติจะอยู่ ระหว่าง 36.5 – 37.4 องศาเซลเซียส
การวัดความดันโลหิต
แรกเกิด – 1 เดือน > 60 มม.ปรอท
1 – 12 เดือน70 – 95 มม.ปรอท
1 – 8 ปี80 – 110 มม.ปรอท
10 ปี- ผู้ใหญ่ 90 – 140 มม.ปรอท
การตรวจร่างกาย
สังเกตลักษณะทั่วไป
สังเกตภาวะสุขภาพทั่วไป แข็งแรงดีหรืออยู่ใน ภาวะเจ็บป่วย อาการแสดงของภาวะไม่สุขสบาย สุขอนามัยของเด็กเช่น ความสะอาดของร่างกาย และ เสื้อผ้า ส่วนสูงและน้าหนัก
ผิวหนัง
การตรวจผิวหนัง เทคนิคที่ใช้ในการตรวจ คือ ดูและคลำ เพื่อตรวจสีผิว ความยืดหยุ่น อุณหภูมิ ความชุ่ม ชื้น และลักษณะผิดปกติต่างๆ เช่น ซีด เหลือง เขียวคล้ำ แดง เป็นผื่น ตุ่ม บวม
เล็บ
ตรวจเล็บ เทคนิคการตรวจ คือ ดูและคลำ เพื่อดูลักษณะเล็บ สีรูปร่าง มุมระหว่างเล็บเนื้อที่หุ้มรอบเล็บ และค้นหาความผิดปกติต่างๆ เช่น นิ้วปุ้ม (clubbing finger) เล็บรูปช้อน (spooning)
ผม
ตรวจคือ ดูคลำ และดมกลิ่น เพื่อดูปริมาณ การกระจายของผม ลักษณะของผม ปกติผมควรนุ่ม ไม่หยาบและหักง่าย หนังศีรษะควรสะอาด ลักษณะ ผมที่ผิดปกติ ได้แก่ ผมเปลี่ยนสีไป ผมร่วงมาก ผมหยาบ เปราะ
ศีรษะ
ศีรษะ เทคนิคการตรวจ คือ ดูและคลำ โดยดูรูปร่างและความสมมาตรของศีรษะคลำดูรอยต่อของกะโหลกศีรษะดูและคลำขม่อมหน้าและขม่อมหลัง ขม่อมหน้าควรจะนุ่ม แบน
คอ
มีบวม คอเป็นปีก (webbing) และหลอดเลือดดาข้างคอโป่งพอง อาจจะเป็นคางทูม
ต่อมน้ำเหลือง
ดูและคลำ โดยดูว่ามีก้อนนูนโตหรือไม่ กดเจ็บหรือไม่
ตา
ตรวจคือ ดู คลำ และการทดสอบหน้าที่ เพื่อประเมินความสามารถในการ มองเห็น การเคลื่อนไหวของลูกตา ความสมมาตร สีของ sclera และ pupil และความผิดปกติ
จมูก
ดูโครงสร้างภายนอกจมูก ความสมมาตร สังเกตลักษณะของปีกจมูกเวลาหายใจ ถ้าปีกจมูก บานขณะหายใจเข้าหรือหุบบาน
ปากและช่องปาก
สังเกตดูริมฝีปากมีสีเขียวคล้ำ ซีด หรือมีแผล เช่น แผลเริม แผลที่มุมเช่น ปากแหว่ง เพดานโหว่ สังเกตอาการขย้อน (gag reflex) ดูต่อม ทอนซิล ถ้าอักเสบจะบวมแดงเป็นหนองขาวๆเหลืองๆ
ทรวงอก
สังเกตรูปร่าง ลักษณะของทรวงอก ผิดปกติเช่น Barrel chest หรือ อกถังเบียร์พบในเด็กโรคปอดเรื้อรังความสมมาตร สี ผิว การบวม รอยโรค การขยายตัวของทรวงอก ความพิการผิดรูป
ฟังเสียงหายใจ
เสียงหายใจปกติจะได้ยินเสียง “ฮื้ด” โดยได้ยินเสียงหายใจเข้าดังและยาวกว่า หายใจออก
Crepitation
Rhonchi
Wheezing
Stridor
ตรวจหัวใจ
ดูสังเกตสีผิวบริเวณทรวงอก ปลายมือปลายเท้า ฝ่ามือ เล็บ และเยื่อบุเปลือกตาล่างว่ามีซีดหรือเขียวคล้ำ
คลำผิวหนังและคลาปลายมือปลายเท้าเพื่อประเมินอุณหภูมิเย็นหรืออุ่น ตรวจ capillary filling
การฟัง heart rate ต้องประเมินอัตรา จังหวะ ลักษณะเสียงและเสียงผิดปกติ
ตรวจท้อง
การดู ดูลักษณะท้อง เมื่อนอนหงายทารกจะมีส่วนท้องนูนกว่าทรวงอก
การฟัง ใช้หูฟัง ฟังเสียง(bowel sounds) ปกติจะได้ยิน ทุก 10-30 วินาที จะได้ยิน 5-30 คร้ัง/นาที
การเคาะ เพื่อหาตาแหน่ง ขนาด ของตับ ม้าม ตรวจหาน้าและก้อนในช่องท้อง
คลำ วิธีคลำมี 2 วิธีคือ คลำเบาและคลำลึก