Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 9 การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง และการดูแลระยะท้าย - Coggle…
หน่วยที่ 9
การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง
และการดูแลระยะท้าย
การดูแลแบบประคับประคอง(Palliative care)
การดูแลให้
มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
และ
ลดอาการทุกข์ทรมาน
เกิดการสุขสบาย
การลดอาการเจ็บป่วยต่างๆ ลดความทุกข์ทรมาน อาจผ่านจากความเชื่อที่แตกต่างกันไป
เริ่มตั้งแต่วินิจฉัยว่าเป็นโรคที่รักษาไม่หาย
Hospice care เป็นการดูแลผู้ป้วยที่ใกล้เสียชีวิต ระยะท้ายของโรค
กลุ่มเป้าหมาย
ผุ้ป่วยที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาด มีอาการเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ
มะเร็งทุกชนิด
คุณภาพชีวิตลดลง ผลกระทบต่อครอบครัว
การประเมินด้านร่างกาย อาการปวด คลื่นไส้ อาเจียน
การให้ยาเข้าใจ้ชั้นผิวหนัง จะมีอาการปวดมากในมะเร็งกระดูก
การประเมินอาการของผุ้ป่วยผ่าน POS scoring
ผู้ป้วยระยะสุดท้าย
การประเมิน
การประเมิน PPS
ดูการเคลื่อนไหว การปฏิบัติกิจกรรมและการดำเนินโรค การดูแลตนเอง การรับประทานอาหาร ระดับความรู้สึกตัว
การประเมินอาการรบกวน
การประเมินอาการปวด
การประเมิน 2Q
การคัดกรองสุขภาพจิตเป็นประจำ ทั้งผู้ป่วยและครอบครัว
แบบประเมินความเครียด ST5
การสื่อสาร
วิธีการที่ผู้ให้บริการปฏิบัติต่อเขา ผ่านการสัมผัส มอง ยิ้ม ทักทาย พูดคุย
การบอกข่าวร้าย เหมือนการ
ตอกไข่
ขั้นที่ 1 เตรียมตัวเจรจา
ขั้นที่ 2 สำรวจว่ารู้แค่ไหน
ขั้นที่ 3 ประเมินใจอยากรู้
ขั้นที่ 4 เผยแพร่ข้อมูลให้ตรงจริง
ขั้นที่ 5 ไม่ทอดทิ้งนิ่งดูดาย
ขั้นที่ 6 นัดหมายไว้ภายหน้า
ปฏิกิริยาของผู้ป่วยและครอบครัวตาม Kubler-Ross
Denial(shock) การให้ข้อมูลโรค การดำเนินโรคและแนวทางรักษา
Anger เข้าใจ เห็นใจ
Bargaining ให้ความมั่นใจว่าจะได้รับการรักษาอย่างดีที่สุด
Depression ประเมินความรุนแรง
Acceptance ความเชื่อ หลักคิด เป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ
Spirituality in palliative care (วิธีการมองปัญหา วิธีคิด) ไม่ถูกกำหนด รสนิยม ค่านิยม
องค์รวมของชีวิต
มิติทางกาย มิติทางจิตวิญญาณ
แสดงออก 3 มิติ
การรับรู้ ความหมายของชีวิต ความเชื่อ
ประสบการณ์และอารมณ์ ความรู้สึกนึกคิด
พฤติกรรมที่แสดงออก แสดงออกให้เห็นได้
แตกต่างจาก Religion
เพราะเป็นคำสอนที่เฉพาะ ต้องปฏิบัติถูกกำหนด
Spiritual assessment
Informal assessment การฟัง การพูด การสังเกต
Formal assessment การถามคำถาม แล้วให้ผู้ป่วยตอบมาผ่านแบบประเมิน HOPE
H
ความเข้มแข็ง
O
ความเชื่อ ศาสนา
P
แสดงออกมายังไง ต่างกันในแต่ละคน
E
มีผลกระทบอะไรต่อเขาบ้าง ต่างกันในแต่ละคน
การประเมินและดูแลด้านจิตวิญญาณ
หลักการคิดและให้คุณค่าในตนเอง
ศาสนา ไม่จำเป็นต้องพูดคุยกัน ยอมรับความแตกต่าง ใจกว้าง ไม่ตัดสินใคร
การปฏิบัติกิจกรรมในชีวิต ที่ทำให้เกิดความสงบภายใน วางตัวเป็นธรรมชาติ
การดูแลระยะท้าย(End of life)
ช่วงเวลาก่อนเสียชีวิต 6 เดือน
สรีระวิทยาในระยะเผชิญความตาย
ความอ่อนเพลีย
อยากนอนตลอดเวลา
ความเบื่ออาหาร
เป็นผลดีเพิ่มคีโตน
ดื่มน้ำน้อยลง
ภาวะขาดน้ำกระตุ้นเอนดอร์ฟิน รู้สึกสบาย
ระบบไหลเวียนเลือด
ช็อก ชีพจรเต้นเร็ว
การหายใจลำบาก หายใจมีเสียงดัง
ระบบประสาท
รู้สึกง่วง
ตายดี 3 มิติ
ตายดีเชิงจิตใจ
ตายดีเชิงกายภาพ
ตายดีเชิงสัมพันธภาพ
Addressing spiritual needs การให้อยุ่กับปัจจุบัน การคอยอยู่เป็นเพื่อนผู้ป่วยไม่ต้องสั่งอะไรแค่รับฟัง
การตายดีที่พึงประสงค์
รู้ตัวและมีสติ ไม่เจ็บปวด ไม่ทุกข์ทรมาน
การดูแลด้านจิตใจ มีความเป็นส่วนตัวเลือกได้ว่าจะตายที่ใด
มีคนรักอยู่ใกล้ พร้อมไปเมื่อถึงเวลา ไม่ยื้อชีวิต
Living Will
พินัยกรรมชีวิต พรบ.สุขภาพแห่งชาติปี 2550
บุคคลมีสิทธิทำหนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการเพื่อยืดการตายในวาระสุดท้ายของตนได้