Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เนื้อเยื่อพืช, ช่วยให้ป้องของพืชใบเลี้ยงเดี่ยวมีความยาวขึ้น,…
-
-
-
เนื้อเยื่อในพืชใบเลี้ยงคู่ระหว่างโฟร์เอ็มกับไซเลมทําหน้าที่แบ่งตัวสร้างเนื้อเยื่อ phloem และไซเล็มให้เพิ่มมากขึ้นเพื่อการเจริญเติบโตของลำต้นvein
เกิดขึ้นใต้ผิวชั้นนอกของรากและลำต้นเพื่อแบ่งเซลล์เพื่อสร้างเนื้อเยื่อ(cork หรือ phellem)ให้มาทำหน้าที่ป้องกันอันตรายและความเสียหายแทนเนื้อเยื่อผิวนอก(epidermis)พี่ใกล้หมดอายุและสร้างกลุ่มเซลล์ชั้นphellodermเพิ่มเข้ามาในด้านใน
อยู่บริเวณด้านข้างลำต้นหรือรากช่วยทำให้ลำต้นหรือรากขยายออกทางด้านข้างมีขนาดใหญ่ขึ้นเนื้อเยื่อนี่คือvasiular cambiumหรือ cork cambium
เป็นส่วนของเนื้อเยื่อที่อยู่นอกสุดกลุ่มเซลล์เหล่านี้อยู่บริเวณเซลล์ยืดตัวและขยายขนาดแล้วค่อยๆเปลี่ยนแปลงต่อไปจนกระทั่งเป็นเนื้อเยื่อถาวรที่เรียก เอพิเดอร์มิส(epidermis) เป็นเซลล์เรียงตัวชั้นเดียวอยู่นอกสุด
เป็นเนื้อเยื่อที่จะเปลี่ยนแปลงไปเป็นว่าสคิวลาร์แคมเบียมประกอบด้วยโฟม m ขั้นต้นและไซเล็มขั้นต้นการจัดเรียงของมัดท่อน้ำท่ออาหารจัดเรียงตัวอย่างมีระเบียบ
-
เป็นเนื้อเยื่อที่เกิดจากเซลล์เจอหลายเซลล์มาอยู่ร่วมกันเป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ชั้นนอกสุดพบทุกส่วนของลำต้นกิ่งรากของพืชที่มีการเจริญเติบโตในชั้นต้นนอกจากนี้ยังพบที่ชั้นนอกของกลีบดอกและขนอ่อนทำหน้าที่ช่วยป้องกันการระเหยและการคายน้ำเพราะถ้าพืชเสียน้ำไปมากจะเหี่ยวและป้องกันไม่ให้น้ำซึมเข้าไปข้างในด้วย
เป็นเนื้อเยื่อที่ก็จะเซลล์พาเรงคิมาหลายเซลล์มาอยู่รวมกันพบอยู่ทั่วไปในพืชจัดเป็นเนื้อพืชทำหน้าที่เก็บสะสมน้ำและอาหาร
เป็นเนื้อเยื่อถาวรที่เกิดจากเซลล์เซลล์มาหลายเซลล์มาอยู่ร่วมกันช่วยทำให้ส่วนต่างๆของพืชเหนียวและแข็งแรงทรงตัวอยู่ได้และยังช่วยป้องกันแรงเสียดทานอีกด้วย
เป็นเซลล์ที่ให้ความแข็งแรงแก้ส่วนต่างๆของพืชมักจะกระจายอยู่เป็นกลุ่มๆมานั่งเซลล์หนาและแข็งแรงเพราะมีสารพวกนิดความหนาของเซลล์เกมรอแรงคริมาต่างกับแรงคิมาขี้ความหนาจะสม่ำเสมอกันตลอดที่เซลล์มีรูปเล็กๆเรียกผิดเมื่อเติบโตเต็มที่แล้วเซลล์จะตายบริเวณกลางๆที่เคยมีซึมอยู่จะกลายเป็นที่ว่างเพราะไซโทพลาซึมแห้งไปเรียกบริเวณกลางเซลล์ว่าลูเมน
เป็นเซลล์ที่พบด้านนอกสุดของลำต้นกิ่งหรือรากมีการเจริญเติบโตในขั้นที่ 2 ซึ่งเป็นพืชที่มีอายุมากและเปลือกนอกมีสีน้ำตาลมีเวลซ้อนกันหลายชั้นบางชนิดซ้อนกันหนามากจนนำมาทำเป็นจุกคอร์กได้มีการสร้างสารซูเบอรินซึ่งเป็นสารที่มีสีน้ำตาลมาเคลือบที่ผนังทำหน้าที่ป้องกันการระเหยน้ำและเซลล์จะตายเมื่อเติบโตเต็มที่
เป็นเซลล์รูปร่างยาวทรงกระบอกปลายค่อนข้างแหลมเมื่อเจอโปรโตพลาสซึมสลายไปเกิดช่องรูเมนขนาดใหญ่ทำหน้าที่
เป็นเซลล์เดียวมีช่องรูเมนใหญ่ผนังเซลล์หนากว่า เทรคีด ผนังเซลล์ด้านข้างและด้านปิดมีรูพรุนทำหน้าที่ลำเลียงน้ำและเกลือแร่ได้ดี
เป็นเซลล์ที่มีรูปร่างคล้ายเซลล์พาเรนไคมาทั่วไปจึงทำหน้าที่สะสมอาหารพวกแป้งน้ำมันและช่วยลำเลียงน้ำเกลือแร่
เป็นเซลล์รูปร่างยาวไปที่เปลี่ยนแปลงจาก เทรคีดทำหน้าที่ค้ำจุนเพิ่มความแข็งแรงและช่วยให้ในการลำเลียงน้ำและเกลือแร่ได้ด้วย
เป็นเซลล์ที่มีชีวิตรูปร่างยาวทรงกระบอกปลายเซลล์เป็นแผ่นยางและมีรูพรุนทำให้ไซโทพลาซึมไหลผ่านระหว่างเซลล์ได้จึงเป็นเซลล์ที่ลำเลียงอาหารได้ดี
-
-
-