Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 การประเมินภาวะสุขภาพ (Health Assessment), ตรวจสุขภาพ, unnamed, 38…
บทที่ 2 การประเมินภาวะสุขภาพ
(Health Assessment)
การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
ชนิดของข้อมูล (Type of data)
ข้อมูลอัตนัย (Subjective data)
ที่ได้จากการซักประวัติการสัมภาษณ์
และการบอกเล่าของผู้รับบริการหรือบุคคลที่เกี่ยวข้อง
Symptoms
การที่จะได้ข้อมูลอัตนัยถูกต้องครอบคลุม
•ทักษะในการสังเกต
•การสัมภาษณ์
•การซักประวัติ
•การฟังให้เข้าใจในสิ่งที่ผู้รับบริการบอก
ข้อมูลปรนัย (Objective data)
จากการสังเกต
การตรวจร่างกาย
อาการแสดง “Signs”
แหล่งของข้อมูล (Source of data)
ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary source data)
ข้อมูลที่พยาบาล
รวบรวม
ข้อมูลปฐมภูมิจึงถือว่าเป็นข้อมูลที่เชื่อถือได้มากที่สุด
ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary source data)
เก็บรวบรวมได้จากแหล่งอื่น ๆ นอกเหนือจากผู้รับบริการ
ข้อมูลจากบุคคลในครอบครัวญาติผู้ใกล้ชิด
ข้อควรระวังพิจารณาถึงความถูกต้องและ
น่าเชื่อถือของผู้ให้ข้อมูลด้วย
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล (Method of data collection)
การสังเกต (Observation)
• การดู
• การฟัง
• การดมกลิ่น
• การลิ้มรส
• การสัมผัสด้วยมือ
ลักษณะทั่วไปของผู้รับบริการ
สีหน้า น้ำเสียง และการพูดคุย
พฤติกรรมที่ผู้รับบริการแสดงออก
กิจกรรมต่างๆหรือกิจวัตรประจ าวันที่ผู้รับบริการ
ปฏิบัติ
อาการแสดง (Signs) ต่างๆของผู้ป่วย
การสัมภาษณ์หรือการซักประวัติ
การสร้างสัมพันธภาพกับผู้รับบริการ
การใช้คำถาม
การกล่าวนำ (General leads)
การสะท้อนความรู้สึก (Reflecting)
การทำความกระจ่าง (Clarification)
การเน้น (Focusing)
การตรวจร่างกาย
การเก็บรวบรวมข้อมูลจากการตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษต่าง ๆ
หลักทั่วไปของการซักประวัติ
ผู้ชักประวัติควรแต่งกายสะอาดเรียบร้อย
จัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม
จัดให้ผ้ป่วยอยู่ในท่าที่สบาย
ควรกำหนดวัตถุประสงค์ของการซักประวัติ
ควรมีความรู้ความเข้าใจ
การใช้คำถามที่จะได้ อาการสำคัญ
แพทย์
• อะไรเป็นสาเหตุที่ท าให้คุณต้องมาพบ
• ไม่สบายเป็นอะไรมาคะ
• คุณมีปัญหาอะไรจึงมาโรงพยาบาล
หลักการเขียนอาการสำคัญ
เขียนเป็นประโยคสั้น ๆ กะทัดรัด ประกอบด้วยอาการ
สำคัญ 2-3 อาการ
เขียนบอกระยะเวลาที่เริ่มมีอาการสำคัญเสมอ
เขียนจากคำบอกเล่าของผู้ป่วย ไม่ควรแปลความหมาย
ไม่เขียนความหมายกว้างเกินไปเพราะทำให้ได้ข้อมูลไม่ชัดเจน
ไม่เขียนอาการเป็นศัพท์ทางการแพทย์
ประวัติเจ็บป่วยปัจจุบัน (Present
illness ตัวย่อ P.I. )
เป็นอาการที่ขยาย
รายละเอียดจากอาการสำคัญ
ประวัติเจ็บป่วยในอดีต (Past history ตัวย่อ P.H. )
เป็นประวัติเจ็บป่วยอื่นๆของผู้รับบริการนอกเหนือจาก
การเจ็บป่วยปัจจุบันรวมทั้งประวัติอื่น ๆ ที่อาจมีความเกี่ยวข้องกับการเจ็บป่วย
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล (Method of data collection)
การตรวจร่างกาย (Physical examination)
การประเมินการตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
ข้อควรพึงระลึกถึง
ควรเป็นข้อมูลที่ครอบคลุมทั้ง ด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์สังคม
และจิตวิญญาณของผู้รับบริการ
ข้อมูลจะต้องมีความถูกต้อง
เชื่อถือได้และปราศจากอคติหรือการใช้ความคิดเห็น
11 แบบแผนของ กอร์ดอน
แบบแผนที่ 1 การรับรู้และการดูแลสุขภาพ
แบบแผนที่ 2 โภชนาการและการเผาผลาญสารอาหาร
แบบแผนที่ 3 การขับถ่าย
แบบแผนที่ 4 กิจวัตรประจำวันและการออกกำลังกาย
แบบแผนที่ 5 การพักผ่อนนอนหลับ
แบบแผนที่ 6 สติปัญญาและการรับรู้
แบบแผนที่ 7 การรู้จักตนเองและอัตมโนทัศน์
แบบแผนที่ 8 บทบาทและสัมพันธภาพ
แบบแผนที่ 9 เพศและการเจริญพันธุ์
แบบแผนที่ 10 การปรับตัว และการเผชิญกับความเครียด
แบบแผนที่ 11 ความเชื่อ
การวิเคราะห์ข้อมูล
(Analysis of Data)
• การซักประวัติ
• การตรวจร่างกาย
• การวิเคราะห์ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
• การตรวจพิเศษ
พยาบาลต้องมีความรู้ความสามารถในการวิเคราะห์และแปลผลการตรวจได้อย่าง
ถูกต้อง
ผู้ตรวจต้องมีทักษะและความสามารถ
•การดู (Inspection)
•การคลำ (Palpation)
•การเคาะ (Percussion)
•การฟัง (Auscultation)