Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เหลียวหลังแลหน้า …
เหลียวหลังแลหน้า การวิจารณ์วรรณกรรมประเทศไทย
ความคิดเรื่องวุฒิภาวะในศิลปะและการวิจารณ์
วุฒิภาวะ
ประเภท
ศิลปิน
ยุค/สังคม
งานศิลปะ
วัฒนธรรมแห่งการวิจารณ์
ประเภทงานของศิลปะ
วงการวิจารณ์
ผู้รับงานศิลปะ
ผู้รับงานวิจารณ์
วงการศิลปะ
งานวิจารณ์
นักวิจารณ์
นิยาม
วุฒิภาวะของการวิจารณ์
การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับศิลปะ บริบทของศิลปกรรม จากรากฐานของประสบการณ์อันกว้างไกลที่ได้รับการไตร่ตรองอย่างลึกซึ้ง
ความคิดเรื่องวุฒิภาวะในศิลปะและการวิจารณ์
เสริมสร้างสติปัญญา
ปลุกสัณชาตญาณใฝ่ดีให้แก่ผู้รับ นำไปสู่สังคมอาระ
สามารถตรึงใจเจริญใจ
เมื่อผู้อ่านถือกุญแจไขรหัส
แนวคิดในการศึกษาวรรณคดีสันสกฤต
กวีเป็นผู้ส่งสาร/บอกกล่าว
วรรณคดีสันสกฤตเกิดจากละคร
ทฤษฎีวรรณคดีสันสกฤต
คุณ : ข้อดี
รึติ : ลีลาของการประพันธ์
รส : แสดงภาวะอารมณ์
เกโรกติ : ถ้อยคำที่อ้อมค้อม
อลังการ : ใช้ภาษาไพเราะ มีความหมาย
เอาจิตย : ความผสมผสานกลมกลืน
อนุมิติ : อนุมานจากบริบท
ธวนิ : คำที่มีความหมายแฝง
คุณสมบัติ
ผู้เขียน
ประติภา : พลังจินตนาการ
ศักติ : มองเห็นด้วยตา
ตัวบท
อลังการ : เครื่องประดับ
รส : อารมณ์
วัสดุ : เนื้อหา โครงเรื่อง
ผู้อ่าน
รสิกะ :ผู้มีรส
ภาวกะ : ผู้สำรวมจิต
สหฤทัย : คนที่มีหัวใจ
วรรณกรรมวิจารณ์ : เมื่อวัฒนธรรมการอ่านถดถอย
การวิจารณ์คือเครื่องมือทางการศึกษางานศิลปะ
ในสมัยก่อนการวิจารณ์วรรณกรรมคึกคักเป็นอย่างมาก
วัฒนธรรมการอ่านไม่เคยถดถอย หากครูหรือนักเรียนยังคงอ่านหนังสือ เพราะครูหรือนักเรียนคือพื้นฐานของการอ่าน :