Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 การประเมนิภาวะสขุภาพ (Health Assessment), image, image, image,…
บทที่ 2 การประเมนิภาวะสขุภาพ (Health Assessment)
การเก็บรวบรวมข้อมูล
แหล่งของข้อมูล
ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary source data)
สังเกตการสัมภาษณ์หรือการซักประวัติสุขภาพ อาจจะเป็นค าบอกเล่าเกี่ยวกับอาการต่างๆความรู้สึกความเชื่อทัศนคติ
ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary source data)
ข้อมูลจากบุคคลในครอบครัวญาติผู้ใกล้ชิด ผู้พบเห็นเหตุการณ์ทีมสุขภาพข้อมูล จากรายงานหรือเวชระเบียนของผู้ป่วยข้อมูล จากการบันทึกของแพทย์ การบันทึกทางการพยาบาล
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
การสังเกต (Observation)
การดู การฟัง การดมกลิ่น การลิ้มรส การสัมผัสด้วยมือ
การซักประวัติ (History taking)
สิ่งที่ควรคำนึงถึงในการซักประวัติ
สภาพของผู้รับบรกิาร
บุคลิกลกัษณะของพยาบาล
สภาพแวดล้อมในการสัมภาษณ์
หลักการซักประวัติ
ผู้ชักประวัติ ควรแต่งกายสะอาดเรียบร้อย มีบุคลิกที่ดีน่าเชื่อถือ ใช้น้ำเสียงอ่อนโยน ไม่พูดเร็วหรือช้าเกินไป
จัดสิ่งแวดลอ้มให้เหมาะสมกบัการซักประวัติควรเงียบสงบปราศจากเสียงรบกวน บางครั้งอาจมีเรื่องที่ผู้รับบริการไม่อยากเปิดเผยให้คนอื่น ๆ ได้รับทราบ
จัดให้ผปู้ว่ยอยู่ในท่าที่สบาย ปราศจาก ความเจ็บปวดหรืออาการไม่สุขสบาย
ควรกำหนดวัตถุประสงค์ของการซักประวัติไว้ล่วงหน้า
วิธีการซักประวัติ
การสร้างสัมพันธภาพ กับผู้รับบริการ
การสื่อสารการฟัง
การบันทึก
การเตรียมตัวก่อนการซักประวัติ
ศึกษาข้อมลูของผู้รับบริการ
ศึกษาแบบฟอร์มหรอืกรอบแนวคิดในการซักประวัติ
วางแผนการซักประวัติ
ขั้นตอนการซักประวัติ
ขั้นตอนสนทนาเนื้อหาไม่ควรมุ่งเน้นแต่ข้อมูลที่ต้องการจากผู้รับบริการเพียงอย่างเดียว
ขั้นตอนสิ้นสุดการสนทนา ควรมีการสรุปการซักประวัติอย่างสั้น ๆ
ขั้นตอนเริ่มต้นการสนทนา แนะนำตัวเองและบอกวัตถุประสงค์
การซักประวัติสุขภาพ
ข้อมูลส่วนบุคคลหรือประวัติส่วนตัว (Patient profile or Personal history)
อาการสำคัญ (Chief complaints ตัวย่อ C.C. )
ประวัติเจ็บป่วยปัจจุบัน (Present ilness ตัวย่อ P .I. )
ประวัติเจ็บป่วยในอดีต (Past history ตัวย่อ P.H. )
ประวัติเจ็บป่วยในครอบครัว (Family history ตัวย่อ F.H. )
การซักประวัติตามกรอบแนวคิดที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
ชนิดของข้อมูล
ข้อมูลอัตนัย (Subjective data)
่ได้จากการซักประวัติการสัมภาษณ์ และการบอกเล่าของผู้รับบริการหรือบุคคลที่เกี่ยวข้อง
อาการหรือความรู้สึกที่ผู้รับบริการบอกเล่าให้ฟังเรียกว่า “Symptoms”
ข้อมูลปรนัย (Objective data)
เป็นข้อมูลที่ ได้จากการสังเกต การตรวจร่างกาย การตรวจวัดผู้รับบริการด้วยเครื่องมือต่างๆ
สิ่งที่ตรวจพบเรียกว่าอาการแสดง “Signs”
11 แบบแผนของ กอร์ดอน
แบบแผนที่5 การพักผ่อนนอนหลับ
แบบแผนที่6 สติปัญญาและการรับรู้
แบบแผนที่4 กิจวัตรประจำวันและการออกกำลังกาย
แบบแผนที่7 การรู้จักตนเองและอัตมโนทัศน์
แบบแผนที่ 3 การขบัถ่าย
แบบแผนที่8 บทบาทและสัมพันธภาพ
แบบแผนที่ 9 เพศและการเจริญพันธุ์
แบบแผนที่ 2 โภชนาการและการเผาผลาญสารอาหาร
การปรับตัวและการเผชิญกับความเครียด
แบบแผนที่ 1 การรับรู้และการดูแลสขุภาพ
แบบแผนที่ 11 ความเชื่อ
ความหมาย
ประกอบด้วย ขั้นตอนของ การเก็บรวบรวม ข้อมูล (Data Collection)
่เกี่ยวกับภาวะสุขภาพเพื่อค้นหาปัญหา ทางด้านสุขภาพหรือความต้องการของผู้รับบริการ
นำข้อมลูที่รวบรวม ได้ทั้งหมดมาวิเคราะห์ (Analysis of Data)
การตรวจร่างกาย
เทคนิคการตรวจร่างกาย
การเคาะ (Percussion)
การคลำ (Palpation)
การฟัง (Auscultation)
การดู (Inspection)
การประเมินการตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
การตรวจปัสสาวะ
การตรวจปัสสาวะ
การตรวจเลือด
การตรวจชิ้นเนื้อ
การตรวจพิเศษต่างๆเชน่การตรวจคลนื่ไฟฟ้าหัวใจ (EKG) การตรวจคลื่นเสียง ความถี่สูง (Ultrasound) การตรวจคลื่นสะท้อนหัวใจ (Echocardiogram) การตรวจคอมพิวเตอร์(CT scan)