Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Plant tissue - เนื้อเยื่อพืช, เนื้อเยื่อเจริญ meristematic tissue,…
Plant tissue - เนื้อเยื่อพืช
จำแนกตามตำแหน่งที่อยู่
lateral meristem - เนื้อเยื่อเจริญด้านข้าง
อยู่ในแนวขนานกับเส้นรอบวงมีการแบ่งเซลล์เพิ่มจำนวนออกทางด้านข้าง เพื่อเพิ่มขนาดความกว้างหรือเส้นผ่านศูนย์กลางของลำต้นและราก ทำให้ลำต้นและรากขยายขนาดใหญ่ขึ้น
ถ้าพบอยู่ในเนื้อเยื่อชั้นผิวหรือพบถัดเข้าไป คือ
cork cambium
ซึ่งเมื่อแบ่งเซลล์ทำให้เกิดเนื้อเยื่อคอร์ก
ถ้าพบอยู่ระหว่างเนื้อเยื่อท่อลำเลียงน้ำและเนื้อเยื่อท่อลำเลียงอาหารคือ
vascular cambium
ซึ่งเมื่อแบ่งเซลล์ทำให้เกิดเนื้อเยื่อท่อลำเลียงเพิ่มมากขึ้น
intercalary meristem - เนื้อเยื่อเจริญเหนือข้อ
อยู่ระหว่างข้อตรงบริเวณเหนือข้อล่างหรือโคนของปล้อง มีการแบ่งเซลล์ได้ยาวนานกว่าเนื้อเยื่อบริเวณอื่นในปล้องเดียวกันทำให้ปล้องยาวขึ้น
apical meristem - เนื้อเยื่อเจริญส่วนปลาย
เมื่อแบ่งเซลล์จะทำให้ลำต้นยืดยาวออกไป ช่วยเพิ่มความยาว สามารถพบได้ที่ ยอด ราก
รากจะเรียกว่าเนื้อเยื่อเจริญส่วนปลายราก
apical root meristem
พบที่ยอด เรียกว่า เนื้อเยื่อเจริญส่วนปลายยอด
apical shoot meristem
จำแนกตามการกำเนิดและการเจริญ
protoderm
เจริญต่อไปเป็นเนื้อเยื่อถาวรในชั้น epidermis
ground meristem
เจริญต่อไปเป็นเนื้อเยื่อถาวรในส่วน pith ,pith ray ,cortex และendodermis
procambium
ปรากฏอยู่เป็นแถบๆ ระหว่าง ground meristem เจริญต่อไปเป็นเนื้อเยื่อถาวรส่วน stele
เนื้อเยื่อถาวรเชิงซ้อน complex permanent tissue
xylem - ไซเล็ม
ประกอบขึ้นมาจากเซลล์ 4 ชนิดทำหน้าที่ลำเลียงน้ำและแร่ธาตุอาหารจากรากไปสู่ส่วนต่างๆของพืช เรียกว่าconduction
เป็นเซลล์ที่ตายแล้วคือ
ไฟเบอร์ xylem fiber
ช่วยเพิ่มความแข็งแรง
เทรคีต tracheid
รูปร่างเรียวยาวมีรูพรุน
เป็นเซลล์ที่มีชีวิตคือ
พาเรงคิมา xylem parenchyma
ช่วยสะสมอาหาร
เวสเซลเมมเบอร์ vessel
อ้วนสั้น หัวท้ายทะลุถึงกันเหมือนท่อประปา
phloem - โฟลเอ็ม
ประกอบขึ้นมาจากเซลล์ 4 ชนิดโฟลเอ็มทำหน้าที่ลำเลียงอาหารสารอินทรีย์จากใบไปส่วนต่างๆ การลำเลียงทางโฟลเอ็ม เรียกว่า ทรานสโลเคชัน translocation
ไฟเบอร์ fiber phlome
ช่วยเพิ่มความแข็งแรง
คอมพาเนียนเซลล์ companion cell
เป็นเซลล์ติดกับซีฟทิวบ์เมมเบอร์ มีนิวเคลียส เพื่อช่วยซีฟทิวบ์เมมเบอร์ในการขนส่งน้ำตาลไปยังส่วนต่างๆของพืช
พาเรงคิมา parenchyma phlome
ช่วยสะสมอาหาร
ซีฟทิวบ์เมมเบอร์ sieve tube member
เป็นเซลล์ที่มีชีวิต ตอนเกิดใหม่มีนิวเคลียสแต่เมื่อโตได้ถูกสลายไป ซึ่งจะมาเรียงต่อกันเป็นท่อลำเลียงอาหาร
simple permanent tissue - เนื้อเยื่อถาวรเชิงเดี่ยว
parenchyma - พาเรงคิมา
เป็นเนื้อเยื่อที่ประกอบขึ้นมาจากเซลล์พาเรงคิมาร่างได้หลายแบบ มีหน้าที่สะสมอาหาร สังเคราะห์ด้วยแสง หลั่งสารพวกแทนนิน ฮอร์โมน เอนไซม์ เป็นต้น
collenchyma - คอลเลงคิมา
เป็นเนื้อเยื่อที่ประกอบขึ้นมาจากเซลล์คอลเลงคิมาพบมากบริเวณใต้เอพิเดอร์มิสของก้านใบ เส้นกลางใบ ช่วยเพิ่มความแข็งแรง
cork - คอร์ก
เกิดจากการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสของคอร์กแคมเบียมบริเวณใกล้ๆกับเอพิเดอร์มิส มีหน้าที่ป้องกันการระเหยของน้ำและเซลล์จะตายเมื่อโตเต็มที่
sclerenchyma - สเคอเรงคิมา
เป็นเนื้อเยื่อที่ประกอบขึ้นมาจากเซลล์สเคอเรงคิมช่วยพยุงและให้ความแข็งแรงให้กับพืช
ถ้ารูปร่างไม่ยามมากนัก มีหลายแบบเช่น รูปดาว หลายเหลี่ยม เรียกว่า
สเกลอรีด sclereid
ถ้าเป็นเส้นใย รูปร่างเรียวยาว หัวท้ายแหลม เรียกว่า
ไฟเบอร์ fiber
epidermis - เอพิเดอร์มิส
เป็นเนื้อเยื่อที่ประกอบขึ้นมาจากเซลล์เอพิเดอร์มอล ทำหน้าที่ป้องกันเนื้อเยื่อที่อยู่ด้านใน
เนื้อเยื่อเจริญ meristematic tissue
เนื้อเยื่อถาวร permanent tissue