Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 11 การบริหารยาในผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
หน่วยที่ 11
การบริหารยาในผู้สูงอายุ
การเปลี่ยนแปลงทางเภสัชจลนศาสตร์(Pharmacokinetics)
การดูดซึมยาเข้าร่างกาย(absorption)
ความเป็นกรดเบส ต้องมีความเป็นกรดสุงยาจึงแตกตัวได้ดี
ขึ้นอยู่กับพื้นที่ผิวในทางเดินอาหาร
ดูดซึมด้วย passive diffusion
การกระจายตัวของยาในร่างกาย(distribution)
Body fat เพิ่มขึ้น แต่ Total wayer ลดลง กระจายตัวน้อยลงอาจเกิดพิษได้
Lean body mass(มวลรวมในร่างกาย) ลดลงทำให้ค่าครึ่งชีวิตของยาบางตัวยาวนานมากขึ้น เกิดการสะสมยา
Albumin ลดลงทำให้ free form เพิ่มมากขึ้น ทำให้ระดับยาสูงเสี่ยงเกิดพิษ
Alpha-1 acid glycoprotein เพิ่มขึ้น ทำให้ระดะบยาที่เป้นอิสระลดลง การออกฤทธิ์น้อยต้องเพิ่มยามากขึ้น
การเปลี่ยนแปลงสภาพยา(metabolism) ขนาดตับลดลงเลือดไหลเวียนลดลง
การกำจัดยา(elimination) ค่า creatinine clearance ลดลง GFR ลดลงและประสิทธิภาพการทำงานของหน่วยไตลดลง
eGFR คนปกติ 125 ml/min
ระยะ 1 90 ml/min ขึ้นไป ตรวจพบพยาธิสภาพที่ไตแล้ว
ระยะ 2 60-90 ml/min การกรองของไตผิดปกติเล็กน้อย
ระยะ 3 30-59 ml/min ปานกลาง
ระยะ 4 15-29 ml/min ลดลงรุนแรง
ระยะ 5 3-5 ml/min ระมัดระวังในการใช้ยามากๆ
การเปลี่ยนแปลงทางเภสัชพลศาสตร์(Pharmacodynamic)
Dopaminergic system D2 ลดลงเรื่อยๆ การเกิด parkinsonism
Clolinergic system เอนไซม์ actylcholine transferase ทำงานลดลงการเกิด Alzheimer’s
Adrenergic system cyclic AMP ลดลงการรักษาโดยใช้ propranolol ที่เป็นกลุ่ม beta blocker ไม่ได้ผลเท่าที่ควร
Gabaminergic system การให้ยา benzodiazepines ในผู้สูงอายุจะทำให้ psychomotor performance (การทรงตัว)เสียได้มากกว่าคนอายุน้อย
กลุ่มยาที่ใช้บ่อยและอาจทำให้เกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาในผู้สูงอายุ
Cardiovascular drugs
digoxin quinidine diuretics ยาลดไขมัน
Diabetes drugs
Sulfonylurea (s/e น้ำตาลในเลือดต่ำ)
Gastrointestinal drugs
H2 blocker เช่น cimetidine ผู้ป่วยหนักอาจเกิดจิตสับสน
มีผลต่อ half life ของยา เช่น theophylline warfarin ระวัง drug interaction
Dopamine antagonist และ cholinergic agonist รักษา N/V (s/e สับสน ซึม)
Non steroid anti-inflammatory drugs(NSAIDS) รักษาปวด ออกฤทธิ์สั้น (s/e เลือดออกในกระเพาะอาหาร)
Psychotropic drugs รักษาวิตกกังวลหรือนอนไม่หลับ ค่าครึ่งชีวิตสั้น
รักษาซึมเศร้าควรใช้ยา tricyclic antidepressants
Antimicrobial drugs โรคติดเชื้อ เช่นโรคระบบทางเดินหายใจ และโรคระบบทางเดินปัสสาวะ ต้องประบขนาดยาป้องกันพิษที่เกิดกับไต
Drugs used in Alzheimer’s disease เน้นยา cholinomimetic drugs (tacrine donepezil รักษาอาการ dementia)
การเกิด drugs interaction
ยากับยา
ASA ร่วมกับ warfarin,heparin เลือดออกแล้วหยุดยาก, ยากลุ่ม cardiac glycosides ร่วมกับ quinidine พิษต่อหูและไตรุนแรง
ยากับอาหาร
ยาช่วยในการเต้นกับหัวใจร่วมกับกาแฟทำให้เกิดหัวใจเต้นผิดจังหวะ
พฤติกรรมการใช้ยา
การใช้ยาด้วยตนเอง
ความสามารถในการบริหารยา
ความสามารถในการตัดสินใจเกี่ยวกับการใช้ยาอย่างเหมาะสม
การใช้ยาตามคำสั่งของแพทย์
การใช้ยาอย่างต่อเนื่อง ตามคำสั่งของแพทย์อย่างดคร่งครัด
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้ยา
ความรู้ ความจำ
ความเชื่อและทัศนคติ
การใช้ยาหลายชนิดและความซับซ้อนของแผนการใช้ยา
การได้รับข้อมูลเกี่ยวกับตัวยา
ปัญหาการใช้ยา
ปฏิกิริยาไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา
เหตุการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา
ความคลาดเคลื่อนทางยา
ความไม่ร่วมมือในการใช้ยา
การจัดการปัญหาในการใช้ยา
การจัดการเชิงรับ
การจัดการเชิงรุก
การจัดการเชิงระบบ
บทบาทของพยาบาลที่เกี่ยวข้องกับการใช้ยา
การบริหารยากับผู้ป่วยโดยตรง
การสั่งยาตามพรบ วิชาชีพพยาบาล
บทบาทการส่งเสริมการมีพฤติกรรมที่ปลอดภัย
การบริหารยาในผู้สูงอายุ
ความจำเป็น การวินิจฉัยที่ถูกต้อง
ขนาดของยาที่ต่ำ แต่ส่งผลดีต่อการรักษา
รูปแบบของยาที่เหมาะสม
ผลข้างเคียงหรือฤทธิ์ที่ไม่พึงประสงค์
ปฏิกิริยาต่อกัน ความชัดเจนในการอธิบายการใช้ยา
ไม่ควรให้ยาติดต่อกันเป็นเวลานาน
การพยาบาลเพื่อบริหารยา
ประเมินการรับรู้ อธิบายความสำคัญของการได้รับยา
การสังเกตอาการแพ้ยาและผลข้างเคียงของยา
ยึดหลัก 10R