Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการพยาบาล (NURSING PROCESS), images, Nursing-Process - Coggle…
กระบวนการพยาบาล
(NURSING PROCESS)
กระบวนการที่พยาบาลใช้เป็นเครื่องมือในการดูแลผู้รับบริการ
ขั้นตอนของกระบวนการพยาบาล
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health
Assessment)
การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data
Collection)
การวิเคราะห์ข้อมูล (Analysis of
Data)
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing
Diagnosis)
การกำหนดข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
(Defined Nursing Diagnosis)
การกำหนดข้อมูลสนับสนุน (Defined
data support)
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา
(Priority)
การกำหนดเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ของ
การพยาบาล (Goal/Objective)
การกำหนดเกณฑ์การประเมินผลการ
พยาบาลหรือผลลัพธ์ที่คาดหมาย (Desired/ Expected Out come)
การกำหนดกิจกรรมการพยาบาล
(Nursing activity)
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
การปฏิบัติการพยาบาลตามแผนการพยาบาล
การบันทึกทางการพยาบาล (Nursing
documentation)
การประเมินผล
การพยาบาล (Evaluation)
กระบวนการพยาบาล มีลักษณะเป็นวงจร ไม่หยุดนิ่ง มีความต่อเนื่องตลอดเวลา และมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน
ความสำคัญของกระบวนการพยาบาล
กระบวนการพยาบาลช่วยให้การปฏิบัติพยาบาลมีคุณภาพมาตรฐาน
พยาบาลทราบถึง
เป้าหมายของการพยาบาลชัดเจน
ดูแลผู้ป่วยได้ครอบคลุมและต่อเนื่อง
กระบวนการพยาบาลส่งเสริมให้พยาบาลมีทักษะในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
ช่วยให้พยาบาลได้ฝึกทักษะการใช้
ความคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical thinking)
ผู้รับบริการได้รับการดูแลอย่างมีคุณภาพ
กระบวนการพยาบาลช่วยในการสื่อสารของทีมการพยาบาลให้มีประสิทธิภาพ
ทำให้ทีมการพยาบาลมีความ
เข้าใจตรงกัน
ลดความซ้ำซ้อนหรือความผิดพลาดในการ
ปฏิบัติการพยาบาล
กระบวนการพยาบาลช่วยให้การมอบหมายงานได้เหมาะสมกับสถานการณ์
ทำให้พยาบาลวิชาชีพมี
ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของตนเองมาก
กระบวนการพยาบาลแสดงถึงเอกลักษณ์ของวิชาชีพการพยาบาล
ทำให้พยาบาลวิชาชีพมี
ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของตนเองมาก
กระบวนการพยาบาลส่งเสริมให้มีการพัฒนาวิชาชีพ
มีส่วนส่งเสริมให้พยาบาลมีการทำวิจัย
มากขึ้น
ปัญหาการใช้กระบวนการพยาบาลและแนวทางแก้ไข
นักศึกษาพยาบาล
ขาดความรู้ความเข้าใจและทักษะการใช้
กระบวนการพยาบาลในการปฏิบัติงาน
มีทัศนคติในเชิงลบต่อการใช้
กระบวนการพยาบาล
คิดว่าการเขียนข้อวินิจฉัยการพยาบาลเป็นสิ่งที่
ยุ่งยาก
ใช้เวลานานมากในการเขียนแผน
พยาบาลวิชาชีพ
การใช้กระบวนการพยาบาลยังไม่ครบทุก
ขั้นตอน
ขาดความรู้และทักษะในการใช้กระบวนการพยาบาลในการปฏิบัติงานโดยเฉพาะขั้นตอนการวินิจฉัยการพยาบาล
สิ่งอำนวยความสะดวกมีไม่เพียงพอ
แนวทางแก้ไข
ควรจัดการเรียนการสอน
เน้นให้นักศึกษาคิดวิเคราะห์ และฝึก
ประสบการณ์ในการวินิจฉัยการพยาบาลมากขึ้น
ผู้สอน
ควรมีการพัฒนาอาจารย์
ควรกำหนดนโยบายการใช้กระบวนการพยาบาล
ควรจัดจำนวนบุคลากรให้มีสัดส่วนพอเหมาะกับจำนวนผู้ป่วย
ควรมีการจัดอบรมให้ความรู้
กรอบแนวคิดที่ใช้ในกระบวนการพยาบาล
กรอบแนวคิดของแนนดา (NANDA)
มองการตอบสนองของ บุคคล
ขั้นพื้นฐาน
เป็น 13 ด้าน
กรอบแนวคิดแบบแผนสุขภาพของกอร์ดอน
(Gordon)
ประเมินภาวะสุขภาพของบุคคล ครอบครัว
และชุมชน รวมทั้งกำหนดข้อวินิจฉัยการพยาบาลตามแนวทางการประเมิน
เป็น 11 แบบแผน
แบบแผนที่ 1 การรับรู้และการดูแลสุขภาพ แบบแผนที่ 2 โภชนาการและการเผาผลาญสารอาหารแบบแผนที่ 3 การขับถ่าย แบบแผนที่ 4 กิจวัตรประจำวันและการออกกำลังกาย แบบแผนที่ 5 การพักผ่อนนอนหลับ แบบแผนที่ 6 สติปัญญาและการรับรู้ แบบแผนที่ 7 การรู้จักตนเองและอัตมโนทัศน์ แบบแผนที่ 8 บทบาทและสัมพันธภาพแบบแผนที่ 9 เพศและการเจริญพันธุ์ แบบแผนที่ 10 การปรับตัว และการเผชิญกับความเครียดแบบแผนที่ 11 ความเชื่อ
กรอบแนวคิดระบบการจำแนกการปฏิบัติการพยาบาลระดับสากล
(International Classification for Nursing Practice, ICNP)
มีการจัดกลุ่มปรากฏการณ์ทางการพยาบาล (Nursing phenomena)
การจำแนกกิจกรรมทางการพยาบาล (Nursing actions)
การจำแนกผลลัพธ์ทาง การพยาบาล (Nursing outcomes)
สิ่งสำคัญ
ตระหนักถึงความสำคัญของกระบวนการพยาบาล
มีทัศนคติที่ดีต่อการใช้กระบวนการพยาบาล