Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การป้องกันภาวะเสี่ยงและอุบัติเหตุที่พบบ่อย - Coggle Diagram
การป้องกันภาวะเสี่ยงและอุบัติเหตุที่พบบ่อย
การหกล้ม
การเปลี่ยนท่าโดยไม่ตั้งใจ
ทำให้ร่างกายทรุดหรือลงนอนกับพื้น
อาจเกิดจากหน้ามืด เป็นลม ขาอ่อนแรง การสะดุด เกี่ยวดึง ลื่นไถล
อุบัติการณ์การหกล้ม
เกิดขึ้นในบ้าน
เพศหญิงมีอัตราการหกล้มสูงกว่าเพศชาย
สาเหตุของการหกล้ม
ความบกพร่องการมองเห็น
ความชัดเจนและการรับรู้ความตื้นลึกลดลง
การลดลงของลานสายตา
รูม่านตาขนาดเล็กลง
ความเสื่อมต่อการเห็นภาพสี
ความบกพร่องของการทรงตัว
ความบกพร่องของการเดิน
มีความแข็งแรงและความสามารถในการประสานงานของกล้ามเนื้อลดลง
มีการเสื่อมของข้อต่อและเอ็นรอบข้อ
ไม่สามารถยกเท้าได้สูงเท่ากับที่เคยทำได้
การเปลี่ยนแปลงของร่างกาย
จากความเจ็บป่วย
ความผิดปกติของหัวใจและหลอดเลือด
การรับความรู้สึกของระบบประสาทและสมองผิดปกติ
การเสื่อมสภาพของกล้ามเนื้อ
ความผิดปกติของสมดุลกรดด่าง เกลือเเร่ในร่างกาย
ได้รับยาหลายชนิด
ปัญหาจิตใจ
ผลกระทบของการหกล้ม
นำไปสู่การเสียชีวิต บาดเจ็บ หมดสติ
ต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้
เกิดโรคแทรกซ้อนระหว่างป่วยหรือผ่าตัด
เกิดความอาย วิตกกังวล ลดความมั่นใจ ลดการเข้าสังคม
การเลี่ยงเข้าสังคม ส่งผลให้สูญเสียความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ
การป้องกันการหกล้ม
จัดสิ่งแวดล้อม
ทางเดินมีความสว่างเพียงพอ
พื้นทางเดินเรียบ
พื้นห้องน้ำมีการปูพื้นกันลื่น
เก้าอี้มีความสูงขนาดวางเท้าได้พอดี
ชั้นวางของควรมีความสูงระดับที่สามารถหยิบจับสิ่งของได้
เสื้อผ้ามีขนาดพอดีกับร่างกาย ไม่มีส่วนที่รุงรัง
รองเท้ามีขนาดและรูปทรงที่เหมาะสมกับเท้า
อุปกรณ์ช่วยในการเคลื่อนไหวมีความแข็งแรง
การปฏิบัติตนของผู้สูงอายุเพื่อป้องกันการหกล้ม
ออกกำลังกายที่ช่วยให้สมดุลการทรงตัว
รับประทานยาตามแพทย์สั่ง
ไม่ควรเร่งรีบในการเดินหรือเคลื่อนไหว
หลีกเลี่ยงการแหงนหน้า เพราะอาจทำให้หน้ามืด
เตรียมเบอร์ฉุกเฉินที่จำเป็นให้อยู่ในที่มองเห็น
การบาดเจ็บ
สาเหตุ
ไม่ยืดกล้ามเนื้อก่อนออกกำลังกาย
พื้นลื่น พื้นไม่เรียบ
สภาพร่างกายไม่พร้อม มีโรคเรื้อรัง อ่อนเพลีย
สภาพจิตใจไม่พร้อม เครียด วิตกกังวล
ลักษณะการบาดเจ็บที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ
ศีรษะถูกกระแทกทำให้สมองถูกกระทบกระเทือน
เนื้อเยื่อพกช้ำ มีเลือดออกใต้ผิวหนังมองเป็นจ้ำเลือดสีแดงคล้ำ
แผลถลอก
ข้อเคล็ดหรือแพลง
ข้อเคลื่อนหรือหลุด
กระดูกหัก
ตะคริว
กล้ามเนื้อฉีก
การป้องกันการบาดเจ็บ
ไม่ควรออกกำลังกายที่ต้องเกร็งกล้ามเนื้อหรือออกแรงเบ่งมา
หลีกเลี่ยงการออกกำลังกายที่มีแรงกระแทก
ไม่ควรออกกกำลังกายที่ต้องใช้ความเร็วสูง
หลีกเลี่ยงการแข่งขัน
ไม่ควรออกกำลังกายเน้นแค่ส่วนใดส่วนหนึ่งมากเกินไป
ไม่ควรออกกำลังกายบนพื้นที่ลาดชัน
หากมีอาการผิดปกติควรหยุดออกกำลังกาย
การทารุณกรรมและถูกทอดทิ้ง
สภาพเศรษฐกิจและสังคมที่เปลี่ยนแปลง การแข่งขัน
ความเครียด ความกดดันครอบครัวมีขนาดเล็กลง
การย้ายถิ่นเพื่อหางานทำของลูกหลาน
อุบัติการณ์การทารุณกรรม
และถูกทอดทิ้งในผู้สูงอายุ
ถูกกระทำรุนแรงทางร่างกาย
กระทำความรุนแรงในด้านจิตใจ
ส่วนใหญ่เป็นการกระทำจากคนในครอบครัว
ผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการถูกกระทำรุนแรง
สมองเสื่อม
เจ็บป่วยเรื้อรัง
ที่อาศัยอยู่ติดกับที่ติดสุรา ยาเสพติด
ยากจน
การละเลยเพิกเฉยต่อผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพา
การเอาเปรียบฉวยประโยชน์จากทรัพย์สินของผู้สูงอายุ
ลูกหลานไปขายแรงงานในต่างจังหวัด ต้องเฝ้าบ้าน เลี้ยงหลาน
เบี้ยยังชีพไม่พอต่อการใช้จ่าย
สาเหตุ
สภาพสังคมเปลี่ยนไป มีลูกน้อยลง
เข้าสู่ภาวะพึ่งพา เจ็บป่วยเรื้อรัง ลูกมาดูแลไม่ได้เพราะต้องทำงาน
การป้องกันการทารุณกรรมและถูกทอดทิ้ง
หากพบผู้สูงอายุถูกทารุณกรรมและถูกทอดทิ้งให้ติดต่อ
สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด