Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองและการดูแลระยะสุดท้าย - Coggle Diagram
การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองและการดูแลระยะสุดท้าย
การดูแลแบบประคับประคอง
ความหมาย
การดูแลผู้ป่วยที่กำลังเผชิญปัญหาเกี่ยวกับความเจ็บป่วยที่กำลังคุกคามต่อชีวิตและครอบครัว เพื่อช่วยให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
เป้าหมายการดูแล
2.บรรเทาความทุกข์ทรมานจากอาการรบกวนและอาการปวด
3.มีคุณภาพชีวิตที่ดี
1.ผู้ป่วยและครอบครัวยอมรับและเข้าใจ พร้อมปรับตัวเข้ากับความเจ็บป่วยได้
4.การปฎิบัติสอดคล้องกับวัฒนธรรม จริยธรรม
กลุ่มเป้าหมาย
2.กลุ่มผู้ป่วยไม่สามารถรักษาให้หายขาดและมีอาการเพิ่มมากขึ้นเรื่อย
2.3 Stroke รักษา 6 เดือนแล้ว PPS<40
2.4 Heart failure (functional class 4) with home oxygen
2.5 โรคอื่นๆที่แพทย์พิจารณาว่ารักษาไม่หายและพยาธิสภาพโรคเสื่อมลง ร่วมกับ PPS<40
2.2 CKD stage5 มีระดับ PPS<40
2.1 COPD stage 4 Home oxygen therapy
3.กลุ่มผู้ป่วยระยะสุดท้าย
1.กลุ่มผู้ป่วยโรคมะเร็งทุกชนิด
การดูแลผู้ป่วย
ประเมินอาการรบกวน
ประเมินอาการปวด
ประเมิน PPS
ประเมิน 2Q
การบอกข่าวร้ายแก่ผู้ป่วย
ขั้นตอนการบอก
1.เตรียมตัวเจรจา Getting start
2.สำรวจว่ารู้แค่ไหน What dose the patient knows
3.ประเมินใจอยากรู้แน่ How much the patient want to know
4.เผยแแพร่ข้อมูลให้ตรงจริง Sharing information
5.ไม่ทอดทิ้งดูดาย Responding to patient and family
6.นัดหมายไว้ภายหน้า Planning and follow-up
ปฎิกิริยา
3.Bargaining อยากต่อรองกับความตาย อยากยื่นเวลาออกไป
4.Depression อาการซึมเศร้า มองโลกในแง่ลบ เบื่ออาหาร นอนไม่หลับ
2.Anger ความโกรธเช่นคนไข้โกรธที่แพทย์ไม่สามารถรักษาได้
5.Acceptance ระยะยอมรับความจริง พร้อมเผชิญทุกสิ่งที่เกิด
1.Denial (Shock) ตกใจและปฎิเสธว่าไม่ได้เป็นอย่างนั้น
การรักมือปฎิกิริยยา
ปฎิเสธ
แสดงตนว่ารับรู้และเขข้าใจความรู้สึก
บอกผู้ป่วยว่าจะดูแลอย่างดี
ให้ข้อมูล การดำเนินของโรค และแนวทางการรักษา
โกรธ
เข้าใจ เห็นใจ ไม่ถือสาอารมณ์
ต่อรอง
ให้ความมั่นใจว่าเขาได้รับการดูแลอย่างดี
ให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วมในการวางแผนการรักษา
ซึมเศร้า
ประเมินความรุนแรง เพื่อให้การรักษาที่เหมาะสม
ยอมรับ
นำความเชื่อ หลักคิด คำสอนที่ผู้ป่วยศรัทธามาเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจและเสริมพลังรักษา
พยาธิวิทยาของการเกิดในผู้ป่วยมะเร็งญ
Physical symptoms
อาการพบบ่อย อ่อนเพลีย ปวด หายใจลำบาก
อาการต่างๆมักเกี่ยวเนื่องกัน ต้องประเมินทุกมิติ
อาการทางกายสามารถคาดเดาได้ล่วงหน้า ประเมินคัดกรองสม่ำเสมอ
Phychological symtoms
Emotional distrss เป็นผลจากความกลัวและความกังวลเกี่ยวกับความไม่แน่นอนของการดำเนินโรค
Spirituality การแสดงออก3มิติ
ประสพการณฺ์ และอารมณ์ Experiential&emotional aspects อารมณ์ ความรู้สึกนึกคิด ความหวัง ความสงบ ความสามารถในการให้และรับความรัก
พฤติกรรมที่แสดงออก Behavioral aspects การแสดงออกที่มองเห็นได้ สอดคล้องกับความเชื่อและสภาวะภายในของตนเอง
การรับรู้ Cognitive aspects การรับรู้ความหมายของชีวิต ความเชื่อ และคุณค่าของการมีชีวิตอยู่
Spiritual suffering / crisis ภาวะวิกฤทางจิตวิญญาณ เกิดขึ้นเมื่อบุคคลนั้นไม่สามารถหาหลักที่พึ่งพิงได้ในการให้ความหมายของชีวิต ความหวัง ความสงบภายใน
การประเมินด้านจิตวิญญาณ
หลักคิดและการให้คุณค่า สิ่งสำคัญในชีวิต ความหวัง ความรักความสัมพันธ์
การปฎิบัติในชีวิตประจำวัน ของผู้ป่วยที่เกิดความสงบภายใน
ศาสนา และกลุ่ม/วัต/โบสถ์ที่ผู้ปวยเข้าร่วมกิจกรรม
Spirite assessment
Formal assessment ประเมินโดยใช้ข้อคำถาม ร่วมไปกับการประเมินด้านอื่น เพื่อให้ได้ข้ิอมูลด้านความเชื่อและการปฎิบัติ
Informal assessment
คนไข้มักแสดงออกโดยการเล่าเรื่องซึ่งแฝงไปด้วยข้อมูลด้านจิตวิญญาณ
ทำให้เราเข้าใจได้ว่าความเข้มแข็งทางจิตวิญญาณเป็นอย่างไร
ประเมินได้ทุกเวลาเมื่อมีโอกาสอำนวย การฟังเป็นเครื่องมือสำคัญ
ปัจจัยความสำเร็จของการดูแลด้านจิตวิญญาณ
สัมพันธภาพระหว่างผู้ให้การรักษากับผู้ป่วย
เวลาและวิธีการที่เหมาะสม
ความเข้าใจจิตวิญญาณของตนเองของผู้ประเมิน
สรีรวิทยาในระยะเผชิญความตาย
ความเบื่ออาหาร
ดื่มน้ำน้อยลง
ความอ่อนเพลีย
การหายใจลำบากหายใจมีเสียงดัง
การเปลี่ยนแปลงของระบบไหลเวียนเลือด
การเปลี่ยนแปลงทางระบบประสาท
Usual road รู้สึกง่วง และนอนหลับตลอดเวลา
Diffeicult road กระวนกระวาย อาจเพ้อ กระตุก ชัก และในที่สุดไม่รู้สึกตัวและเสียชีวิต