Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองและการดูแลระยะสุดท้าย - Coggle Diagram
การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองและการดูแลระยะสุดท้าย
เป้าหมายของการดูแลแบบประคับประคอง
ผู้ป่วยและครอบครัวยอมรับเละเข้าใจ พร้อมปรับตัวเข้ากับความเจ็บป่วยได้
บรรเทาความทุกข์ทรมาน
มีคุณภาพชีวิตที่ดี
การปฏิบัติสอดคล้องกับวัฒนธรรม จริยธรรม
Palliative care
การดูแลผู้ป่วยที่กำลังเผชิญปัญหาความเจ็บป่วยที่กำลังคุกคามต่อชีวิตและครอบครัว เพื่อช่วยให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ด้วยการป้องกัน บรรเทรความทุกข์ทรมาน
Hospice care
การดูแลตอนคนไข้ใกล้เสียชีวิตแล้ว
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มผู้ป่วยโรคมะเร็งทุกขนิด
กลุ่มผู้ป่วยที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดและมีอาการเพิ่มมากขึ้น
กลุ่มผู้ป่วยระยะสุดท้าย
การประเมินผู้ป่วยในการดูแลแบบประคับประคอง
การประเมิน PPS
การประเมินอาการรบกวน
การประเมินอาการปวด
การประเมิน 2Q
การสื่อสาร
วิธีการที่ให้ผู้บริการปฏิบัติต่อผู้ป่วยเป็นสิ่งสำคัญ
การสื่อสารที่ดีเป็นหัวใจของ palliative care
การบอกข่าวร้าย
มี 6 ขั้นตอน
1 : เตรียมตัวเจรจา
2: สำรวจว่ารู้แค่ไหน
3 : ประเมินใจอยากรู้แน่
4 : เผยแพร่ข้อมูลให้ตรงจริง
5 : ไม่ทอดทิ้งนิ่งดูดาย
6 : นัดหมายไว้ภายหน้า
ปฏิกิริยาของผู้ป่วยและครอบครัว
Denial (shock)
ตกใจและปฏิเสธความจริง
Anger
ความโกรธ
Bargaining
ต่อรองกับความตายและการสูญเสียที่กำลังจะมาถึง
Depression
อาการซึมเศร้า หมดแรง อยากตาย
Acceptance
ระยะยอมรับความจริง
การรับมือกับปฏิกิริยาของผู้ป่วย
Danial
ให้ข้อมูลโรค การดำเนินโรค แนวทางการรักษา
แสดงตนว่ารับรู้และเข้าใจ
บอกผู้ป่วยว่าจะดูแลให้ดีที่สุด
Anger
เข้าใจ เห็นใจไม่ถือสาอารมณ์โกรธ
Bargaining
ให้ความมั่นใจ
ให้้ผู้ป่วยมีส่วนร่วมในการวางแผนการรักษา
Depression
ประเมินความรุนแรงเพื่อให้การรักษาที่เหมาะสม
Acceptance
นำความเชื่อ หลักคิด คำสอน มายึดเหนี่ยวจิตใจและเสริมพลัง
Physical symptoms
อาการทางกายสามารถคาดเดาได้ล่วงหน้า
อ่อนเพลีย ปวด หายใจลำบาก คลื่นไส้
อาเจียน เบื่ออาหาร น้ำหนักลด เพ้อ
อาการต่างๆมักเกี่ยวเนื่องกัน
การประเมินด้านร่างกาย
ประเมินอาการปวด
POS
การประเมินผลของการดูแล
Psychological symptoms
ประเมินด้านจิตใจทั้งผู้ป่วยและครอบครัว
Spirituality
การรับรู้
รับรู้ความหมายของชีวิต ความเชื่อ และคุณค่าของการมีชีวิตอยู่
ประสบการณ์และอารมณ์
อารมณ์ความรู้สึกนึกคิด ความหวัง ความสงบ ความสามารถในการให้และรับความรู้สึก
พฤติกรรมที่แสดงออก
การแสดงออกภายนอกที่มองเห็นได้สอดคล้อง
กับความเชื่อและสภาวะภายในของตัวเอง
Spirituality
จิตวิญญาณมีความหมายกว้างๆ ครอบคลุมทั้งมุมมองทางศาสนา และไม่เกี่ยวกับศาสนา
Religion
ศาสนาเป็นวิธีที่ช่วยมนุษย์ตอบคำถามที่เกี่ยวกับจิตวิญญาณ
ภาวะวิกฤตทางจิตวิญญาณ
เกิดเมื่อไม่สามารถหาหลักพึ่งพิงได้ในการให้ความหมายของชีวิต
เมื่อมีความขัดแย้งระหว่างความเชื่อกับสิ่งที่กำลังเกิดขึ้นในชีวิต
Spiritual assessment
Informal assessment
ประเมินได้ทุกเวลา
การฟังเป็นเครื่องมือสำคัญ
คนไข้มักแสดงออกด้วยการเล่าเรื่องแฝง
ทำให้เราเข้าใจว่าความเข้มแข็งทางจิตวิญญาณเป็นอย่างไร
Formal assessment
ประเมินโดยใช้ข้อคำถามร่วกับการประเมินด้านอื่น
The HOPE Questions
การประเมินด้านจิตวิญญาณ
นำข้อมูลมาวางแผนการดูแลเพื่อเสริมพลังด้านจิตวิญญาณ
ศาสนาและกลุ่มที่ผู้ป่วยเข้าร่วมกิจกรรม
หลักคิดและการให้คุณค่า
การปฏิบัติในชีวิตประจำวัน
การดูแลด้านจิตวิญญาณ
มองให้เห็นและตอบสนอง
มีความกรุณา
อยู่กับปัจจุบัน
ฟังอย่างตั้งใจ
สนับสนุนความหวังที่ไม่เกินจริง
ไม่จำเป็นต้องพูดถึงเรื่องพระเจ้าหรือศาสนา
ปัจจัยความสำเร็จของการดูแลด้านจิตวิญญาณ
ความเข้าใจจิตวิญญาณของตนเองของผู้ประเมิน
สัมพันธภาพระหว่างผู้ให้บริการกับผู้ป่วย
เวลาและวิธีการที่เหมาะสม
สรีระวิทยาในระยะเผชิญความตาย
ความอ่อนเพลีย
ความเบื่ออาหาร
ดื่มน้ำน้อยลง
การเปลี่ยนแปลงของระบบไหลเวียนเลือด
การหายใจลำบาก หายใจมีเสียงดัง
การเปลี่ยนแปลงทางระบบประสาท
การดูแลผู้ป่วยให้ตายดีในระยะเผชิญความตาย
ลดหรือหยุดยา และมีธีการตรวจ/การรักษาที่ไม่จำเป็น
รักษาอาการปวดและอาการรบกวน
สื่อสารบอกผู้ป่วยและครอบครัวด้วยวิธีที่เหมาะสม
ประเมินและตอบสนองความต้องการด้านจิตวิญญาณ
วางแผนการดูแล
การตายดีที่พึงประสงค์
รู้ตัวและมีสติรับรู้สิ่งที่จะเกิดขึ้น
ไม่เจ็บปวด ไม่ทุกข์ทรมาน
ได้รับการดูแลด้านจิตใจและจิตวิญญาณ
มีความเป็นส่วนตัว เลือกได้ว่าจะตายที่ใด
มีคนรักอยู่ใกล้ มีเวลากล่าวอำลา
พร้อมไปเมื่อเวลามาถึง
พินัยกรรมชีวิต
บุคคลมีสิทธิทำหนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการที่เป็นไปเพียงยืดการตายในวาระสุดท้าย