Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การฟื้นฟูสภาพ และ การเจ็บป่วยเรื้อรังในผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
การฟื้นฟูสภาพ และ การเจ็บป่วยเรื้อรังในผู้สูงอายุ
การเจ็บป่วยเรื้อรัง
แนวคิด
มีความพิการหลงเหลืออยู่
พยาธิสภาพที่เกิดขึ้นไม่สามารถกลับคืนสู่ปกติ
มีการเปลี่ยนแปลงอย่างถาวร
ต้องการฟื้นฟูสภาพ
ต้องการการติดตามอาการ และให้การดูแลเป็นระยะเวลานาน
สาเหตุ
กรรมพันธุ์ อาหาร สารเคมี อุบัติเหตุ เชื้อโรค สภาพจิตใจ เสียงดังแรงสั่นสะเทือนรังสีต่างๆ
ปัจจัยเสริม
อายุ
พฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม
ลักษณะบุคลิกภาพที่ดี
ฐานะทางเศรษฐกิจ
ลักษณะอาชีพ
เชื้อชาติและชาติพันธุ์
วัฒนธรรมและค่านิยมทางสัมคม
ผลกระทบของการเจ็บป่วยเรื้อรัง
ทางด้านร่างกาย
ความสามารถในการภาวะโภชนาการผิดปกติ
ภูมิคุ้มกันบกพร่อง
การรับรู้ความรู้สึกและการตอบสนองผิดปกติ
การขับถ่ายผิดปกติ
การพักผ่อนไม่เพียงพอ
มีข้อจำกัดในการมีเพศสสัมพันธ์
ทางด้านจิตสังคม
วิตกกังวล Anxiety
ซึมเศร้า depression
ภาวะหมดทางช่วยเหลือ helpessness
ภาวะไร้พลัง powerlessness
ปัจจัย
รู้สึกสูญเสียจากการเจ็บป่วยเรื้อรัง
ขาดความรู้และทักษะในการดูแลตนเอง
ขาดแหล่งช่วยเหลือ พาหนะในการมาพบแพทย์ ต้องอยู่ตามลำพัง
วัฒนธรรม ในการมองว่าบุคคลเจ็บป่วยไร้ประโยชน์
วิถีทางของการเจ็บป่วยเรื้อรัง
Acute phase เกิดความรุนแรงและอาการแสดงไม่สามารถบรรเทา
Crisis phase เกิดภาวะฉุกเฉิน หรือสถานะชีวิตถูกคุกคาม
Unstable phase ขาดความสามารถในการรักษา ควบคุมอาการ
Comeback แสดงการย้อนกลับของความเจ็บป่วยเรื้อรัง
Stable phase อาการแสดงความเจ็บปวดอยู่ใต้การควบคุม
Downward phase มีภาวะเพิ่มขึ้นของการถดถอย
Trajectory phase อาการและอาการแสดงของโรคปรากฎ
Dying phase มีการเพิ่่มขึ้นทีละนิดหรือร่างกายหยุดการทำงานอย่างรวดเร็ว
Pretrajectory phase ระยะป้องกัน
การพยาบาล
การพยาบาลเพื่อควบคุมอาการ
ให้ความรู้ คำแนะนำ และส่งเสริมความสามารถในการดูแลตนเอง
ให้การพยาบาลแบบองค์รวมที่เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละราย
ดูแลให้ได้รับยาอย่างสม่ำเสมอ
ส่งเสริมการทำกิจกรรมเพื่อลดความวิตกกังวล
การพยาบาลเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน
วางแผนการพยาบาลเพื่อฟื้นฟูอย่างเหมาะสม
มีการวางแผนการติดตามผู้ป่วยให้ปฎิบัติการฟื้นฟูสภาพ
ให้ความรู้ และข้อมูลต่างๆในการฟื้นฟูสภาพ
ประเมินความพร้อมของผู้ป่วยและครอบครัวในการกลับไปพักฟื้น
ประสานงานกับโรงพยาบาล และแนะนำแหล่งประโยชน์
การพยาบาลเพื่อป้องกันอาการกำเริบรุนแรงซ้ำ
ประเมินความสามารถในการดูแลตนเอง
ให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและครอบครัว เพื่อมีทักษะในการดูแล
หากผู้ป่วยและครอบครัวไม่เห็นความสำคัญของการดูแลตนเองตามที่ให้คำแนะนำ
การพยาบาลเพื่อคงไว้ซึ่งการดำเนินชีวิตอย่างผาสุข
ทัศนคติที่ดีกับผู้ป่วย
เปิดโอกาสให้เล่าระบายความรู้สึก
ประเมินความสามารถในการปรับตัวของผู้ป่วย
ให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเกี่ยวกับการรักษา
การฟื้นฟูสภาพ
แนวคิด
การฟื้นฟูสภาพผู้สูงอายุ เพื่อคงไว้ซึ่งหน้าที่อวัยวะของร่างกาย
แนวทางการฟื้นฟูสภาพผู้สูงอายุ ต้องรักษาพยาธิสภาพ
ลักษณะเฉพาะของผู้สูงอายุ
M- Multiple pathology
P - Polypharmacy
A - Atypical presentation
S - Social adversity
R- Reduce body reserve
การฟื้นฟูสภาพผู้สูงอายุ
ความแตกต่างด้านจิตใจ ความเชื่อ การเปลี่ยนแปลงด้านอารมณ์และความรู้สึกนึกคิด ซึมเศร้า การขาดแรงจูงใจ
ความแตกต่างด้านสังคม-สิ่งแวดล้อม ปรับตัวเข้าสังคมยาก มีสภาพร่างกายที่บกพร่องกว่าวัยอื่น
ความแตกต่างทางร่างกาย มีโรคเรื้อรังหลายโรค ความสามารถในการทำหน้าที่ของระบบต่างๆลดลง
ความแตกต่างด้านการตั้งเป้าหมายการรักษา
อุปสรรคของการฟ้นฟูสภาพในผู้สูงอายุ
ปัจจัยทางด้านจิตใจ ความเชื้อ การรู้คิดบกพร่อง การขาดแรงจูงใจ
ปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและสภาพแวดล้อม ค่าใช้จ่ายสูง สภาพร่างกายไม่เอื้อต่อการเข้าสังคม สิ่งแวดล้อมทางกายภาพไม่เอื้ออำนวย
ปัจจัยทางด้านร่างกาย การนอนหลับ ภาวะทุพโภชนาการ ภาวะการควบคุมอุณหภูมิร่างกายพร่อง ภาวะ postural hypotension
ขั้นตอนการฟื้นฟูสภาพในผู้สูงอายุ
กำหนดเป้าหมายและแผนการฟื้นฟู
ดำเนินการฟื้นฟูสภาพตามเป้าหมาย
ดำเนินการประเมินผู้สูงอายุ
การติดตามประเมินผลเป็นระยะ
ตรวจหาโรคหรือปัญหาที่อาจเกิดภาวะทุพพลภาพ
กลวิธีในการฟื้นฟูสภาพในผู้สูงอายุ
ป้องกันความพิการ ส่งเสริมการทำกิจกรรม
สร้างบรรยากาศของการฟื้นฟูสภาพ
พัฒนาความสามารถในการทำหน้าที่
รักษาไว้ซึ่งศักดิ์ศรีของบุคคล ส่งเสริมการช่วยเหลือตนเอง
ควบตุมความบกพร่องหรือโรคทีเ่ป็นสาเหตุ
การฟื้นฟูสภาพในกลุ่มผู้สูงอายุ
การเดินไม่มั่นคง Instability
การเดินมั่นคงต้องอาศัย ระบบประสาทรับความรู้สึก ระบบประสาทส่วนกลาง และการทำงานของกล้ามเนื้อและข้อต่อ
การฟื้นฟู
แก้ไขสาเหตุ
ฝึกการทรงตัว
ค้นหาปัจจัยเสี่ยงต่อการหกล้ม
ปรับสภาพแวดล้อมให้เหมาะสม
การเดินไม่มั่นคง เป็นเหตุการล้ม ทำให้ผู้สูงอายุบางรายกลัวการหกล้ม ขาดความมั่นใจ
การควบคุมการขับถ่ายผิดปกติ Incontinence
เพศหญิง
กล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะไม่เกิน ร่วมกับกล้ามเนื้อฐานเชิงกรานบกพร่อง
การฟื้นฟู pelvic floor exercise + การถ่ายปัสสาวะเป็นเวลา
เพศชาย
BPH ตรวจหาสาเหตุเพิ่มเติม
ปัญหาการควบคุมการขับถ่าย การเปลี่ยนแปลงตามวัย มีปัญหามากขึ้นเมื่อมีการเจ็บป่วย
การกลั้นอุจจาระไม่ได้
อาจเกิดท้องผูก อัดแน่น อุจจาระเล็ดราด
การฟื้นฟู กระตุ้นลำไส้ รับประทานอาหารที่มีกากใย ดื่มน้ำ เปลี่ยนอริยาบทบ่อยๆ ยาระบาย นวดหน้าท้องตามแนวลำไส้ใหญ่
การไม่เคลื่อนไหว Immobility
ปัญหา Immobility มักเกิดจาก
ภาวะทางกาย ปวดข้อ การทรงคัว เดินแล้วหกล้ม Postural hypotension
ภาวะทางจิตใจ ซึมเศร้า เบื่อหน่าย ไม่อยากทำอะไร กลัวการหกล้ม ทัศนคติทางลบ
เกิดปัญหา Immovilization Syndrome กล้ามเนื้อลีบเล็กลง ข้อต่อหดรั้ง แผลกดทับ
การเปลี่ยนแปลงทางกล้ามเนื้อในผู้สูงอายุ ไม่มีผลต่อสมรรถภาพความสามารถในการเดิน/ยืน
การฟื้นฟู
ระยะแรก ป้องกันภาวะแทรกซ้อน หรือถดถอยของร่างกาย
ระยะหลัง เมื่อพ้นภาวะวิกฤต เพิ่มระดับความสามารถในการช่วยเหลือตัวเอง
ความบกพร่องทางสติปัญญา Intellectual impairment
ความบกพร่องทางสติปัญญา เป็นอุปสรรคต่อการฟื้นฟูเนื่องจาก
ไม่มีสมาธิ ไม่สามารถจดจำขั้นตอนการฝึก
ไม่ร่วมมือในการฝึก
การฟื้นฟู
ประเมินระดับความสามารถในการเรียนรู้
ผู้สูงอายุที่มีสมองเสื่อมปานกลาง ถึงรุนแรงจะมีข้อจำกัดในการเรียนรู้สิ่งใหม่
Intellectual impairment ในผู้สูงอายุ อาจมีสาเหตุจากปัญหาอื่นๆเช่นหูตึง ซึมเศร้า ภาวะสับสน