Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัญหาสุขภาพ อาการผิดปกติที่พบบ่อย การจัดการอาการ แลการใช้การแพทย์ทางเลือก …
ปัญหาสุขภาพ อาการผิดปกติที่พบบ่อย การจัดการอาการ แลการใช้การแพทย์ทางเลือก
ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ
โรคหลอดเลือดสมอง (Stroke)
เป็นภาวะที่มีความผิดปกติของระบบหลอดเลือดสมอง เป็นสาเหตุให้สมองบางส่วน หรือทั้งหมดทำงานผิดปกติ ก่อให้เกิดอาการและอาการแสดงที่คงอยู่เกิน 24 ชม. หรือทำให้เสียชีวิต
ชนิดของโรค
สมองขาดเลือด (Ischemic stroke) พบ 75-80%
มีเลือดออกในสมอง (Hemorrhagic stroke) พบ 20-25%
อาการ
(ผิดปกติ 1 ใน 3 ถือว่าเป็นโรคหลอดเลือดสมองแล้ว 72%)
แขนขาอ่อนแรง
พูดไม่ชัด
หน้าเบี้ยว
ปัจจัยเสี่ยง
ปรับเปลี่ยนไม่ได้
เพศ: ชายเสี่ยงมากกว่า 1.5 เท่า
ชาติพันธ์: คนผิวดำ>คนผิวขาว>คนเชื้อสาย Hispanic
อายุ: 45 ปีขึ้นไป ความเสี่ยงเพิ่มเป็น 2 เท่า
พันธุกรรม: ด้านบิดาเสี่ยงเพิ่มขึ้น 2.4 เท่า/ ด้านมารดาเสี่ยงเพิ่มขึ้นเป็น 1.4 เท่า
ปรับเปลี่ยนได้
ความดันโลหิต: หากผิดปกติเสี่ยงเพิ่มขึ้น 4-6 เท่า
Atrial fibrillation: หากผิดปกติเสี่ยงเพิ่มขึ้น 5 เท่า
ความผิดปกติของหลอดเลือดแดง Carotid: เสี่ยงเพิ่ม 2 เท่า
โรคหลอดเลือดหัวใจ: เสี่ยงเพิ่ม 2 เท่า
ไขมันในเลือดสูง: ไม่พบความเสี่ยงเพิ่ม
ประวัติเคยเป็นโรคหลอดเลือดสมอง: เสี่ยงเพิ่ม 5 เท่าหลังเป็นโรคครั้งแรกใน 5 ปี
การสูบบุหรี่: เสี่ยงเพิ่มขึ้น 1.5 เท่า
โรคเบาหวาน: เสี่ยงเพิ่มขึ้น 2 เท่า
การประเมินสภาพ
ซักประวัติ: อาการสำคัญ ระยะเวลาที่เกิดอาการผิดปกติ(สำคัญ!!) กรณีตื่นนอนแล้วมีอาการให้ถือเวลาเข้านอนหรือเวลาครั้งสุดท้ายที่ผู้ป่วยปกติ ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต ปัจจัยเสี่ยง
ตรวจร่างกาย
1.Glasgow coma scale
2.การอ่อนแรงกล้ามเนื้อใบหน้า มุมปากด้านใดตกแสดงว่ากล้ามเนื้อใบหน้าด้านนั้นอ่อนแรง
3.การอ่อนแรงกล้ามเนื้อแขน-ขา
ประเมินด้วย Cincinnati prehospital stroke scale
หน้าเบี้ยว
แขนขาอ่อนแรง
พูดไม่ชัด
ผิดปกติ 1 ใน 3 ถือว่าเป็นโรคหลอดลเลือดสมอง 72%
อาการที่ต้องรายงานแพทย์ทันที
1.BP: >185-220/>120-140 mmHg
2.O2 sat < 95 หรือมีภาวะ Cyanosis
3.GCS < 10 หรือลดลง
4.DTX < 50 mg% หรือ >400 mg%
5.เจ็บหน้าอก ชักเกร็ง กระตุก เหนื่อย หอบฯ
การตรวจวินิจฉัย
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ: CBC, PT, PTT, INR, Glucose, E+, EKG, BUN, Cr, ABC, Lipid pro fife; LDL, HDL, Cholesterol
ตรวจทางรังสี: CT Scan, MRI
การรักษา
ทางด่วน
เข้ารับการรักษาภายในโรงพยาบาลไม่เกิน 3 ชม.
Reperfusion Therapy คือให้ยาละลายลิ่มเลือด
ไม่ใช่ทางเด่วน
Prevention Therapy ได้รับ Aspirin 160-325 mg/day ภายใน 48 ชม.
ป้องกันการกลับมาเป็นซ้ำ ได้แก่ ให้ Aspirin ป้องกันการเกิดลิ่มเลือด ลดความดันโลหิต ลดไขมัน รักษาระดับน้ำตาลในเลือดให้คงที่ งดสูบบุหรี่
การพยาบาล
ระยะฉุกเฉินและวิกฤติ
ระยะพักฟื้นและฟื้นฟูสภาพ
ขณะให้ยาละลายลิ่มเลือด
ข้อเสื่อม (Osteoarthritis: OA)
การเปลี่ยนแปลงกระดูกอ่อนผิวข้อ สึกบางลง ทำให้มีการเสียดสีของกระดูก เกิดเสียงเมื่อเคลื่อนไหว
ลักษณะของโรคข้อเสื่อม
มีการเสื่อมทำลายของกล้ามเนื้อและกระดูกบริเวณข้อ โดยไม่มีการอักเสบ
มีความผิดปกติกับข้อที่เคลื่อนไหวได้ ทำให้มีข้อจำกัดในการเคลื่อนไหว
กระดูก่อนผิวข้อเสื่อมเป็นรอยถลอกกัดกร่อน ร่วมกับการมีการสร้างกระดูกใหม่บริเวณขอบข้อ
พบมากในผู้สูงอายุ
ปัจจัยชักนำ
อายุ
การใช้งานมากเกินไป เป็นเวลานาน
มีการบาดเจ็บที่ข้อ
โรคอ้วน
ขาด Vitamin D และ K
กรรมพันธุ์
อาการและอาการแสดง
มักเกิดข้อเสื่อมหลายข้อ และเป็นมากที่สุดที่ข้อที่รับน้ำหนักมาก
ปวด ปวดตื้อๆที่บริเวณข้อ ปวดมากเมื่อใช้งานหรือลงน้ำหนักบนข้อนั้นทุเลาเมื่อพักใช้งาน
ข้อฝืด เป็นบ่อยในช่วงเช้าและหลังพักการใช้ข้อนานๆ
ข้อบวมผิดรูป ตรวจพบข้อที่อยู่ตื้น เช่น ข้อเข่า ข้อนิ้ว
อาจพบ เข่าโก่ง เข่าฉิ่ง
สูญเสียการเคลื่อนไหวและการทำงาน
มีเสียงดัง กรอบแกรบ ขณะเคลื่อนไหว
องศาการเคลื่อนที่ของข้อลดลง
การวินิจฉัย
ซักประวัติและตรวจร่างกาย ตรวจข้อเข่า พบ ข้อบวม หรือขนาดข้อใหญ่
ถ่ายภาพรังสี พบ่องว่างระหว่างกระดูกเข่าแคบลง = กระดูกอ่อนมีการสึกหรอ
ตรวจน้ำหล่อเลี้ยงเข่า ด้วยกล้องจุลทรรศน์
เจาะเลือด
การรักษา (รักษาไม่หาย)
รักษาโดยไม่ใช้ยา
รักษาโดยใช้ยา
รักษาโดยใช้เวชศาสตร์ฟื้นฟู
รักษาโดยการผ่าตัด
เป้าหมายการพยาบาลที่สำคัญ
แก้ไข หรือคงสภาพการทำงานของข้อให้ปกติ
ป้องกันและชะลอภาวะแทรกซ้อน
เพื่อบรรเทาอาการปวด ลดการอักเสบ
ดูแลให้คุณภาพชีวิตใกล้เคียงกับคนปกติ
กระดูกพรุน (Osteoporosis)
โรคที่มีความหนาแน่นของกระดูกลดลงเรื่อย ๆ และมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของกระดูก มีผลทำให้กระดูกไม่สามารถรับน้ำหนัก หรือแรงกดได้ตามปกติ และทำให้กระดูกหักตามมา
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
เพศและอายุ: หญิง > ชาย
รูปร่าง; ผอมเล็ก เพราะมีเนื้อกระดูกน้อยกว่า
เชื้อชาติ พันธุกรรม: ชาวเอเชีย > คนผิวดำ
มีประวัติคนในครอบครัวเกิดโรคกระดูกพรุน
โรคประจำตัว: เบาหวาน ไต ตับแข็ง ข้ออักเสบรูมาตอยด์
จากการใช้ยาที่มีผลต่อการสลายเนื้อกระดูก: Steroid ยารักษา Thyroid ยาลดกรดที่มีฟทธิ์จับ Phosphate ยากันชัก
ไม่ได้เคลื่อนไหว หรือขาดการออกกำลังกาย
รับประทานอาหารรสเค็มัด ส่งผลให้ลดการดูดซึม Ca ที่ไต
รับประทานอาหาร Protein สูง ส่งผลให้ใช้ Ca ในกระดูกไปทำปฏิกิริยากับกรดอินทรีย์ที่สร้างจาก Protein
รับประทาน Ca ไม่เพียงพอ
รับประทานอาหารไขมันสูง กาแฟ เครื่องดื่ม Alcohol สูบบุหรี่
ขาด Vitamin D
อาการและอาการแสดง
ปวดหลัง
Dowager's hump
น้ำหนักลด
กล้ามเนื้อเกร็งโดยเฉพพาบั้นเอว
การก้มทำได้น้อยกว่าการแหงนเหยียด
การวินิจฉัย
ใช้ Dual Energy Absorptionmetry (DEXA) วัดความหนาแน่นของกระดูกสันหลัง กระดูกสะโพก กระดูกต้นชาและปลายกระดูกข้อมือ
ส่งผลตรวจห้องปฏิบัติการณ์: CBC, Ca, Phosphate, Albumin, การทำงานของตับ ไต, Hormone Thyroid Parathyroid Vitamin D (Hydroxyvitamin D), Hormone เพศ เช่น Estradiol, Testosterone, Folliclestimulation Hormone (FSH), Luteinizing Hormone (LH)
การรักษา
ใช้ยา ต้องทำควบคู่กับการรักษาแบบไม่ใช้ยา
หลักการเลือกใช้ยา คือ ป้องกันไม่ให้กระดูกหัก
ไม่ใช้ยา: ได้รับ Ca เพียงพอ, Vitamin D, เปลี่ยนพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อโรคกระดูกพรุน, ออกกำลังกาย
ยาที่เลือกใช้ คือ Biphosphonae เพิ่มความหนาแน่นกระดูก
โรคเบาหวาน (Diabetes Mellitus)
Type 1 Diabetes Mellitus
พบในเด็ก หรือผู้ที่อายุ < 30 ปี
มักจะผอม
เกิดจากตับอ่อนไม่สามารถสร้าง Insulin ได้ รักษาโดยการฉีด Insulin
กรณีขาด Insulin จะเกิดภาวะหมดสติจากน้ำตาลในเลือดสูงและกรดคั่งในเลือด (Ketoacidosis)
Type 2 Diabetes Mellitus
พบเป็น 95-97% ของผู้ป่วยโรคเบาหวาน
ส่วนใหญ่พบในผู้สูงอายุ
ส่วนใหญ่มักจะอ้วน
ตับอ่อนตับอ่อนสามารถสร้าง Insulin ได้ แต่มีภาวะดื้อต่อ Insulin
ระยะแรกรักษาโดยการควบคุมอาหาร หรือทานยาเม็ดลดระดับน้ำตาลในเลือด
ระยะเรื้อรัง อาจต้องฉีด เพราะ Beta cell มีการเสื่อมในการทำหน้าที่
ปัจจัยชักนำ
ปริมาณ Insulin ลดลง เนื่องจากภาวะสูงอายุ
เกิดการดื้อ Insulin เนื่องจากสูงอายุ
โรคอ้วน
มีกิจกรรมทางกายลดลง
ยาที่ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูง เช่น Corticosteroid, Estrogen, Furosemide, Thiazide Diuretic
การเจ็บป่วย หรือความเครียด
กรรมพันธุ์
อาการและอาการแสดง
ระยะแรกไม่ค่อยมีอาการ
อาการทั่วไป: กินจุ ปัสสาวบ่อย ดื่มน้ำมาก น้ำหนักลด
ติดเชื้อบ่อย แผลหายยาก
ระบบประสาททำงานบกพร่อง เช่น ชา เจ็บ ปวดแสบปวดร้อน
โรคหลอดเลือดแดงขนาดใหญ่ เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคหลอดเลือดสมองหรือโรคหลอดเลือดส่วนปลาย
โรคหลอดเลือดแดงขนาดเล็ก เป็นที่ไต ทำให้ Protein รั่วออกมากับปัสสาวะ เป็นที่ตาทำให้ดกิด Macular disease
มีรอยโรคที่ผิวหนัง เช่น Diabetic dermopathy
มีภาวะแทรกซ้อนของระบบต่อมไร้ท่อ เช่น Hyperlipidemia โรคอ้วน
Insulin Resistance Syndrome (Syndrome X)
Obesity
HDL < 45 mg/dL (Female), < 35 mg/dL (Men)
Triglyceride level > 150 mg/dL
Hypertension
Hyperuricemia
เกณฑ์การวินิจฉัย
ผู้ที่มีอาการของโรคเบาหวานร่วมกับการมีระดับน้ำตาล Glucose ใน Plasma มาจากหลอดเลือดดำ (Casual Plasma Glucose: CPG)
เวลาใดก็ตาม มีระดับน้ำตาล >= 200 mg/dL
มีอาการของโรคเบาหวาน ได้แก่ อาการดื่มน้ำมาก ปัสสาวะมาก และน้ำหนักตัวลดลงโดยไม่ทราบสาเหตุ
ผู้ที่มีระดับน้ำตาลในเลือดที่เวลา 2 ชม. หลังทำการทดสอบความทน Glucose (Oral Glucose Tolerance Test: OGTT)
โดยการใช้สารละลาย Glucose 75 g ในน้ำ 300 ml
มีระดับน้ำตาล > 200 mg%
ผู้ที่มีระดับน้ำตาลในเลือดหลังงดน้ำงดอาหาร (Fasting Plasma Glucose: FPG)
: หลังงดน้ำงดอาหาร อย่างน้อย 8 ชม. มีระดับน้ำตาล >= 126 mg%
ภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลัน (Acute complication)
ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ (Hypoglycemia)
Blood glucose < 60 mg/dL (บางคน > 60 mg/dL)
อาการ:
เริ่มแรก: หัวใจเต้นเร็ว ใจสั่น เหงื่ออก ตัวเย็น หน้าซีด
ระยะหลัง: ปวดศีรษะ มึนงง สับสน ชัก หมดสติ
Nonketotic hyperglycemic-hyperosmolar coma (NKHHC)/ Hyperosmolar hyperglycemic state
ระดับน้ำตาลในเลือดสูง,สูญเสียน้ำจำนวนมาก, ขาดน้ำ
อาการ: ความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง ซึม และสัมพันธ์กับการที่เลือดมีความเข้มข้นสูง (Hyperosmolarity)
ภาวะแทรกซ้อนต่อหลอดเลือดขนาดใหญ่
Myocardial Infarction, Hypertension, Stroke
ภาวะแทรกซ้อนต่อหลอดเลือดขนาดเล็ก
Retinopathy ทำให้ตามองไม่เห็น และไตวายระยะสุดท้าย (End-stage renal failure)
การควบคุมเบาหวาน
ควบคุมระดับน้ำตาลให้ใกล้เคียงปกติมากที่สุด มีผลต่อการป้องกันและชะลอการเกิดโรคแทรกซ้อน
ควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ต่อการเกิดโรคแทรกซ้อนทางหลอดเลือดใหญ่ เช่น ระดับไขมันและความดันโลหิต
เพื่อให้ผู้ป่วยดำรงชีวิตในสังคมอย่างมีความสุข
ไม่มีโรคแทรกซ้อนทั้งเฉียบพลันและเรื้อรัง
ภาวะท้องผูก (Constipation)
การถ่ายอุจจาระแข็งและแห้งผิดปกติ หลายวันจึงจะเบ่งถ่าย ใช้เวลาเบ่งนาน หรือแรง หรือรู้สึกถ่ายอุจจาระไม่หมด
ชนิดของภาวะท้องผูก (แบ่งตามลักษณะการขับถ่าย)
ชนิดมีการไหลของอุจจาระในลำไส้อย่างช้าๆ
ชนิดถ่ายลำบาก หรือเจ็บปวดขณะถ่าย
ชนิดของภาวะท้องผูก (แบ่งตามสาเหตุการทำให้เกิดท้องผูก)
Primary constipation
Secondary constipation
ประเมินอาการท้องผูก
ซักประวัติ และตรวจร่างกาย
ต่อมลูกหมากโต
ผนังด้านข้างหรือด้านในของต่อมลูกหมากเพิ่มจำนวน Cell มากผิดปกติ จนเกิดเป็นก้อน
อาการ
ปัสสาวะต้องเบ่ง
ปัสสาวะไม่พุ่งเป็นลำเล็กๆ
ปัสสาวะไม่สุด
ปัสสาวะบ่อย ตื่นกลางดึกเนื่องจากปวดปัสสาวะ
การกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ (Urinary Incontinence)
การสูญเสียการควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะ ทำให้มีปัสสาวะเล็ดราดออกมาทางท่อปัสสาวะ
ผลกระทบ
ด้านร่างกาย
ระคายเคืองผิว เกิดบาดแผล เสี่ยงต่อการติดเชื้อผิวหนังและทางเดินปัสสาวะ
ด้านจิตใจและสังคม
คุณค่าในตัวเองลดลง แยกตัวจากสังคม คุณภาพชีวิตลดลง
ชนิดของการกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
กลั้นปัสสาวะไม่อยู่เรื้อรัง (Chronic)
ชั่วคราว (Transient) หรือแบเฉียบพลัน (Acute): ป้องกันหรือรักษาให้หายได้
ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ
ความดันโลหิตสูง
ระดับความดันโลหิต >= 140/90 mmHg ซึ่งอาจเป็นตัวบนหรือตัวล่างก็ได้
จุดมุ่งหมายการประเมินผู้ป่วยที่สงสัยว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูง
1.เพื่อยืนยันว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูงและประเมินระดับความรุนแรง
2.เพื่อประเมินร่องรอยอวัยวะที่ถูกทำลาย
3.เพื่อตรวจหาโรคที่เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิด CVD เช่น. โรคเบาหวาน, CKD
4.เพื่อตรวจหาโรคความดันโลหิตสูงทุติยภูมิที่อาจรักษาจากต้นเหตุได้
การรักษา
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดำเนินชีวิต
การรักษาด้วยยา
ก่อนให้ยารักษาความดันโลหิต ควรได้รับการประเมินความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจาก CVD ใน 10 ปีข้างหน้าก่อน
เริ่มให้ยาลดความดันโลหิตทันทีในผู้ป่วยที่เสี่ยงต่อการเสียชีวิตจาก CVD สูงและสูงมาก
ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงต่ำ เริ่มให้ถ้าหากความดันโลหิตของผู้ป่วยยังระดับ > 140/90 mmHg หลังจากให้คำแนะนำไมปแล้วอย่างน้อย 1 เดือน
ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงปานกลาง หรือสูง ควรเริ่มให้ยา ถ้าหากความดันอยู่ที่ระดับ > 140/90 mmHg หลังได้รับคำแนะนำอย่างน้อย 1 สัปดาห์
ปอดอุดกั้นเรื้อรัง (Chronic obstructive pulmonary disease)
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
การสูบบุหรี่ และการได้รับควันบุหรี่
มลพิษทางอากาศ เช่น การใช้ฟืนประกอบอาหาร สารเคมีจากการทำอุตสาหกรรม
การขาด Alpha 1- antitrypsin: โรค Alpha1- antitrypsin (AAT)
เพศ: ชาย = หญิง
ความยากจน เนื่องจากอยู่สถานที่แออัด
โรคหอบหืด: เสี่ยงมากกว่าคนปกติ 12 เท่า
พยาธิสภาพ
การจำกัดการไหลของอากาศและการขังของอากาศในถุงลม (Airflow limitation and air tapping)
มีความผิดปกติของการแลกเปลี่ยน Gas
มีการหลั่งมูกเพิ่มมากขึ้น
ความดันในปอดสูง
อาการและอาการแสดง
เหนื่อย หายใจลำบาก ใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กในการช่วยในการหายใจ ผู้ป่วยต้องใช้แรงมากขึ้นในการหายใจ เมื่อโรคพัฒนารุนแรงขึ้นผู้ป่วยมักจะมีอาการหายใจลำบากแม้ทำกิจวัตรประจำวันหรือในขณะพัก
ไอเรื้อรัง พบในระยะแรกของโรค อาจมีหรือไม่มีเสมหะร่วมด้วย
แน่นหน้าอก หายใจมีเสียงวี๊ด (Wheeze)
เหนื่อยล้า น้ำหนักลด เบื่ออาหาร พบบ่อยในผู้ป่วยที่อยู่ในระยะรุนแรง
การวินิจฉัย
ซักประวัติ
ตรวจร่างกาย
Chest X-ray
ABG
สมรรถภาพปอด
การรักษา
หยุดสูบบุหรี่
การใช้ยา
รักษาด้วย O2
การรักษาอื่นๆ
หัวใจล้มเหลว
แบ่งตามเวลาการเกิดโรค
Chronic heart failure
Acute heart failure
แบ่งตามประสิทธิภาพการบีบตัวของหัวใจ
Heart failure with reduce ejection fraction (HFrEF): ภาวะการบีบตัวของหัวใจห้องล่างซ้ายล้มเหลว
Heart failure with mild range ejection fraction (HFmrEF): ภาวะการบีบตัวของหัวใจล้มเหลว ร่วมกับ
หัวใจห้องล่างหนาตัว
หัวใขขณะคลายตัวทำงานไม่มีประสิทธิภาพ
Heart failure with preserved ejection fraction (HFpEF)
แบ่งตามความรุนแรง
1.Stage A HF
2.Stage B HF
3.Stage C HF
4.Stage D HF
ปัญหาในการสื่อสาร
มีความกพร่องในการส่งสารและรับข้อมูลจากโลกภายนอก ทั้งโดยวัจนะและอวัจนะภาษา และส่งสารติดต่อแปลผลภายในร่างกายของมนุษย์ก่อนการตอบสนอง
ปัจจัยด้านผู้สูงอายุ
หู
ความสามารถในการได้ยินลดลงโดยช่วงแรกการรักเสียงที่มีความถี่สูงหรือแหลมจะสูญเสียไปก่อน ต่อมาเป็นความถี่ปานกลาง
เยื่อบุแก้วหูมีลักษณะแข็งและเหี่ยวลีบ หรืออาจมีการอุดตันของขี้หู
ตา
ตาฝ้ามัว มองไม่ชัด เนื่องจากแก้วตามีความหนาตัว โค้งน้อย
มะเร็งกล่องเสียงหรือช่องปาก
ผู้สูงอายุที่เจาะคอ รวมทั้งความจำเสื่อม มักจะมีปญหาด้านการสื่อสาร
ความผิดปกติที่พบบ่อย
Aphasia
มีความผิดปกติของการพูดและเข้าใจภาษา
อาการ: พูดไม่ได้ หรือพูดได้ หรอืไม่เข้าใจภาษา
สาเหตุ: โรคหลอดเลือดสมอง อุบัติเหตุทางสมอง เนื้องอกในสมอง
ประเภทของ Aphasia
มีปัญหาเรื่องการรับรู้เข้าใจภาษา (Wernicl's Aphasia)
มีปัญหาเรื่องการแสดงออกทางภาษา แต่มีความเข้าใจภาษาที่ปกติ (Broca's Aphasia)
มีปัญหาเรื่องการนึกคำพูด (Nominal Aphasia)
มีปัญหาเรื่องการแสดงออกทางภาษาและความเข้าใจภาษา (Global Aphasia)
Dysarthia
ความผิดปกติในการควบคุมกล้ามเนื้อการพูด คือ พูดไม่ได้ พูดไม่ชัด พูดแบบลิ้นแข็งๆ หรือพูดตะกุกตะกัก
เกิดจากการอ่อนแรงของใบหน้า ปาก ลิ้น และขากรรไกร
สาเหตุเนื่องจากโรคหลอดเลือดสมองที่มีการตีบขนาดใหญ่ หรือตีบบริเวณเนื้อสมองส่วนสีขาว บริเวณก้านสมอง หรือบริเวณสมองน้อย ทำให้เกิดการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อที่ควบคุมบริเวณปากได้
โดยปกติแล้วผู้ป่วยสามารถเข้าใจการสนทนา การอ่าน หรือการเขียน
แก้ไขปัญหาด้านการพูดด้วยการออกกำลังกาย นอกเหนือจากความลำบากในการพูดแล้วผู้ป่วยมักประสบปัญหาในการกลืนด้วย
หัวใจขาดเลือด
กล้ามเนื้อหัวใจมีความไม่สมดุลของการใช้ O2 กับความต้องการ O2 ทำให้หัวใจขาดเลือด และหรือตายจากเลือดในหลอดเลือดหัวใจไปเลี้ยงลดลงอย่างเฉียบพลัน
Non-STEMI (NSTEMI)
Unstable angina
ST segment elevation myocardial infarction (STEMI)
อาการ
เจ็บหน้าอก
คลื่นไส้ อาเจียน
ไข้
เหงื่ออกมากตัวเย็น
อาการของระบบหัวใจและหลอดเลือด
อาการทางจิตใจ
การตรวจวินิจฉัย
ซักประวัติ
ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
ตรวจ Cardiac maker
ตรวจพิเศษ