Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วยที่มีปัญหาด้านอายุรกรรม, นางสาวนันท์นภัส เจสดุ เลขที่ 44…
ผู้ป่วยที่มีปัญหาด้านอายุรกรรม
Seizure
การซักประวัติและการตรวจร่างกาย
มักมาพบแพทย์ในขณะที่ไม่ได้เกิดอาการ
ประวัติจากผู้ป่วยหรือผู้ที่เห็น เหตุการณ์จึงเป็นสิ่งที่ส าคัญเบื้องต้นในการวินิจฉัยอาการชัก
การบันทึกภาพจากอุปกรณ์ โทรศัพท์มือถือหรือกล้องวิดีโอ
ประวัติอื่นๆ : ช่วยในการวินิจฉัยจำแนกชนิดและสาเหตุ
ลักษณะของอาการชักโดยทั่วไป
เกิดขึ้นทันทีทันใด
เกิดขึ้นเป็นระยะเวลาสั้นๆ ไม่เกิน 5 นาทีและหยุดเอง
ส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นเอง แต่บางครั้งอาจจะมีปัจจัยกระตุ้นให้เกิด
ส่วนใหญ่จะมีลักษณะเหมือนหรือคล้ายกันทุกครั้ง
การตรวจภาพถ่ายกายภาพของ
สมอง
CT SCAN
MRI
Shock
ชนิดของ Shock
Hypovolemic shock
Hypovolemic shock ช็อกจากการสูญเสียสารน้ำออกนอกร่างกายจำนวนมากทำให้ปริมาณเลือดที่ไหลเวียนในร่างกายลดลง :Hemorrhage เสียเลือด,Hemorrhage เสียเลือด
Cardiogenic shock
LV failure : เพิ่ม CO
Bradycardia : เพิ่ม HR
Cardiogenic shock ภาวะช็อกที่เกิดจากการทำงานของหัวใจบกพร่อง เกี่ยวข้องกับกล้ามเนื้อหัวใจ ลิ้นหัวใจและการส่งกระแสไฟฟ้าของหัวใจ เช่น Myocardial infarction, Cardiac arrest, Ventricular dysrhythmias, Cardiomyopathy
Distributive shock
ภาวะช็อกที่เกิดจากการขยายตัวของหลอดเลือดดำและหลอดเลือดฝอยทั่วร่างกาย (Vasodilation) และมีการรั่วของสารน้ำจากหลอดเลือดมาอยู่ในช่องว่างระหว่างเซลล์
Neural induced
Chemical induced
Obstructive shock
Obstructive shock ภาวะช็อกที่เกิดจากปัจจัยภายนอกที่ส่งผลให้หัวใจสูญเสีย ความสามารถในการบีบตัวซึ่งไม่ได้เกิดจากความผิดปกติของหัวใจเอง เช่น Cardiac tamponade, Arterial stenosis, Pulmonary embolus: PE, Pulmonary hypertension *BP ไม่ Drop
การพยาบาล
ในระยะ Initial stage และ Non-progressive stage ประเมินผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะช็อก ประเมินอาการเปลี่ยนแปลงทางคลินิกก่อน BP drop โดยการ ประเมิน Tissue perfusion ได้แก่ Level of consciousness (LOC) v/s (MAP, BP, PR, RR, BT) และ Pulse pressure Urine output Skin Laboratory (ScvO2, ) Monitor hemodynamic status หากมีการเปลี่ยนแปลงที่ ผิดปกติ รีบรายงานแพทย์ ให้สารน้ำ ให้ออกซิเจน ให้ยาตามแผนการรักษา
ในระยะ Progressive stage ผู้ป่วยเข้าสู่ภาวะวิกฤต ต้องได้รับการดูแลอย่าง ใกล้ชิดในหอผู้ป่วยวิกฤต (ICU) ใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ขั้นสูงในการรักษาและ ติดตามอาการผู้ป่วย เช่น ใช้เครื่องช่วยหายใจ, Hemodynamic monitoring, ECG เป็นต้น ประเมินและเฝ้าระวังภาวะอวัยวะสำคัญล้มเหลวหลายระบบ (MODS)โดยใช้แบบประเมิน SOFA Score > 2 คะแนน (โอกาสเสียชีวิตเพิ่มขึ้น 10%)
วางแผนร่วมกับทีมในการให้ข้อมูลกับญาติ
ในระยะ Refractory stage วางแผนร่วมกับทีมสุขภาพในการดูแลดูแลแบบประคับประคอ ให้ข้อมูลกับญาติเกี่ยวกับ Prognosis และ Outcome ให้ญาติมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
Coma
ความรู้สึกตัว
Normal/Alert
Confusion/drowsiness
Stuporous/Semicoma
Unconsciousness/Coma
การรักษา
Airway, breathing, and circulatory conditions (A,B,C’s)
Laboratory and toxicologic tests
CT and MRI brain scan
EEG
Determination of the serum glucose by the point of care testing
Thiamine
Maintenance of cerebral perfusion, avoiding hypotension
Respiratory obstruction
Airway
◦Upper airway
◦Lower airway
อาการและอาการแสดงของ
การสำลักสิ่งแปลกปลอม
การอุดกั้นไม่รุนแรง
สามารถหายใจได้ มีการแลกเปลี่ยนก๊าซ ไอแรงๆได้ อาจได้ยินเสียงหายใจหวีดระหว่างการไอ
การอุดกั้นรุนแรง
ใช้มือกุมบริเวณลำคอ
• พูดหรือร้องไม่มีเสียง
• หายใจลำบาก ไม่มีการแลกเปลี่ยนก๊าซ
• ไอเบาๆ หรือไม่สามารถไอได้
• มีเสียงลมหายใจเข้าเพียงเล็กน้อย
หรือไม่มีเสียง
• หน้าเขียว ปากเขียว
นางสาวนันท์นภัส เจสดุ เลขที่ 44 (603101044)