Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การฟื้นฟูสภาพ และการเจ็บป่วยเรื้อรังในผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
การฟื้นฟูสภาพ และการเจ็บป่วยเรื้อรังในผู้สูงอายุ
แนวคิดเกี่ยวกับการเจ็บป่วยเรื้อรัง
เจ็บป่วยด้วยโรคจะมีอาการ หรือรักผ่าติดต่อนาน หรือตลอดชีวิต
มีความบกพร่องหรือเบี่ยงเบนจากปกติ1หรือมากกว่า
มีการเปลี่ยนแปลงถาวร
มีความพิการหลงเหลืออยู่
พยาธิสภาพไม่กลับปกติ
ต้องการฟื้นฟูสภาพ
ต้องการติดตามอาการ ให้การดูแลเป็นเวลานาน
สาเหตุ
กรรมพันธุ์
อาหาร
สารเคมี/มลพิษ
อุบัติเหตุต่างๆ
เชื้อโรค
สภาพจิตใจ
เสียงดัง แรงสั่นสะเทือน รังสีต่างๆ
ปัจจัยเสริม
อายุ
พฤติกรรมสุขภาพไม่เหมาะสม
ลักษณะบุคลิกภาพ
ฐานะทางเศรษฐกิจ
ลักษณะอาชีพ
เชื้อชาติ
วัฒนธรรม ค่านิยมสังคม
ผลกระทบ
ด้านร่างกาย
มีข้อจำกัดในการมีเพศสัมพันธ์
ภูมิคุ้มกันบกพร่อง
การรับความรู้สึกตอบสนองผิดปกติ
การขับถ่าย
พักผ่อนไม่เพียงพอ
ทำกิจกรรมลดลง
ด้านจิตสังคม
วิตกกังวล Anxiety
ซึมเศร้า Depresstion
ภาวะหมดหนทางช่วยเหลือ helplessness
ภาวะไร้พลัง powerlessness
สูญเสียความหวังในอนาคต สมรรถภาพทางเพศลดลง
คุณภาพชีวิตแย่ลง รู้สึกต้องพึ่งพา
ขาดความรู้และทักษะดูแลตัวเอง ถูกละเลย
ขาดการช่วยเหลือ วัฒนธรรมในบางสังม
ครอบครัว
เศรษฐกิจและสังคม
วิถีทางของการเจ็บป่วยเรื้อรัง
ช่วงเวลาการเจ็บป่วยที่ใช้เวลานาน
ถูกกำหนดโดยพยาธิสรีรวิทยา
การเปลี่ยนแปลงด้านสุขภาพแตกต่างกันแต่ละบุคคล
มี9ระยะ เป็นเหตุการณ์ต่อเนื่องไม่ได้ดำเนินเป็นเส้นตรง
ย้อนไประยะแรกได้ หรือยืดขยายบางช่วง
Pretrajectory phase
ระยะป้องกัน ยังไม่เจ็บป่วย แต่เสี่ยง
Trajactory phase
อาการและอาการแสดงขแงโรคปรากฎ มีปัญหา
Stable phase
อาการแสดงความเจ็บป่วยภายใต้การควบคุม จัดการระดับปฐมภูมิที่บ้าน
Unstable phase
ขาดความสามารถ ควบคุมอาการที่เกิดขึ้น
Acute phase
รุนแรงและแสดงอาการที่ไม่สามารถบรรเทา เกิดอาการแทรกซ้อนของโรค
Crisis phase
ภาวะฉุกเฉิน ชีวิตถูกคุกคามต้องการรักษาเร่งด่วน
Comeback
แสดงการย้อนกลับของการเจ็บป่วยกลับมาทีละนิด
Downward phase
เพิ่มขึ้นของภาวะถดถอย พิการเพิ่มขึ้น
Dying phase
เพิ่มขึ้นทีละนิดและร่างกายหยุดทำงานอย่างรวดเร็ว
บทบาทพยาบาล
มีทัศนคติที่ดีกับผู้ป่วย
เป็นผู้ช่วยเหลือสนับสนุน
สนับสนุนให้ผู้ป่วยและดูแลมีการเผชิญความเครียดได้
ให้ความรู้เพื่อให้ผู้ป่วยนำไปปฎิบัติ
ส่งเสริมและพัฒนาการรับรู้สมรรถนะของตนเอง
ให้มีประสบการณ์สำเร็จด้วยตนเอง
ได้เห็นต้นแบบหรือประสบการณ์ผู้อื่น
ได้คำแนะนำ การชักจูง กระตุ้นพฤติกรรม
ลดการกระตุ้นอารมณ์ ค่อยเป็นไป ฝึกผ่อนคลาย บรรเทาอาการ
ให้ความรู้ ดูแลภาวะโภชนาการ การพยาบาลองค์รวมที่เหมาะสม
ได้รับยาสม่ำเสมอ ทำกิจกรรมลดกังวล
ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
วางแผนภาวะแทรกซ้อน ติดตามผู้ป่วยให้ฟื้นฟูเป็นระบบ
ให้ความรู้ ประเมินความพร้อมทั้งผู้ป่วยและครอบครัว
ประสานงานโรงพยาบาล
ป้องกันอาการกำเริบรุนแรงซ้ำ
ประเมินความสามารถดูแลตนเอง สาเหตุอุปสรรค ให้ความรู้ ให้คำแนะนำ
คงไว้ซึ่งการดำเนินชีวิตผาสุก
มีทัศนคติที่ดีกับผป.
การฟื้นฟูสภาพ
ลักษณะเฉพาะของผู้สูงอายุ “RAMPS”
R: resuce body reverse
A: atypical presentation
M: multiple pathology
P: polypharmacy
S:social adversity
การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาในผู้สูงอายุ
ระบบประสาท
กระดูกและกล้ามเนื้อ
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
มีความแตกต่างจากผู้ป่วยวัยอื่นๆ
ร่างกาย จิตใจ สังคมสิ่งแวดล้อม เป้าหมายการรักษา
อุปสรรค
ด้านร่างกาย การนอนหลับ postural hypotention ทุพโภชนาการ
ด้านจิตใจ ความเชื่อ ความรู้คิดบกพร่อง ขาดแรงจูงใจ
ปัจจัยเศรษฐานะ สังคม สภาพแวดล้อม
ปัจจัยเศรษฐานะ สังคม สภาพแวดล้อม ค่าใช้จ่ายสูง
มีหลายโรคและได้รับยาหลายชนิด
ความไม่พร้อมของทีมสุขภาพ
ต้องการเตียงสูง หยุดฟื้นฟูเร็วเกิน
คาดหวังมากหรือน้อยไป ของผู้ป่วยและญาติ ท้อแท้
ขาดความต่อเนื่อง ญาติช่วยผู้ป่วยเกินไป ทำให้ไม่ได้ทำเอง
ขั้นตอน
ตรวจหาโรค
ดำเนินประเมินอย่างละเอียด
กำหนดเป้าหมายและแผนฟื้นฟู
ดำเนินการ
ติดตามเป็นระยะ
กลวิธี
ควบคุมความบกพร่องหรือโรคที่เป็นเหตุ
พัฒนาความสามารถในหน้าที่
ป้องกันความพิการ
สร้างบรรยากาศ
ปฏิบัติการฟื้นฟูต่อเนื่อง
ให้ความอิสระแก่ผู้ป่วยมากที่สุด
สร้างแรงจูงใจ
ฟื้นฟูในกลุ่มอาการผู้สูงอายุ
Immobility
Incontinence
Intellectual impairment