Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 8 ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ, นางสาวญาณิศา พลศักดิ์…
หน่วยที่ 8 ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ
หัวใจขาดเลือด
กล้ามเนื้อหัวใจมีความไม่สมดุลของการใช้ออกซิเจน กับความต้องการออกซิเจน ทำให้หัวใจขาดเลือดและหรือตายจากเลือดในหลอดเลือดหัวใจไปเลี้ยงลดลงอย่างเฉียบพลัน
สาเหตุ
การอุดตันของหลอดเลือดหัวใจ
ลิ้นหัวใจตีบ
ภาวะซีด
กล้ามเนื้อหัวใจโต
ปัจจัยเสี่ยง
ลักษณะของคราบไขมันในหลอดเลือดหัวใจ การหนาตัวของคราบไขมัน การหนาตัวของชั้นกล้ามเนื้อในหลอดเลือดและผนังหลอดเลือดเสื่อมสภาพ
การไหลเวียนของเลือดในหัวใจ ความหนืดของเลือด แรงกระแทก การไหลเวียนลดลง
กระบวนการแข็งตัวของเลือด
การขาดปัจจัยการแข็งตัวของเลือด
อาการ Metabolic และการอักเสบ เบาหวาน โรคอ้วน ภาวะไขมันในเลือดสูง
การติดเชื้อ โรคไต
ความไม่สมดุลของระบบฮอร์โมนและระบบประสาท ความเครียด ซึมเศร้า
ความไม่สมดุลของต่อมไร้ท่อ
สิ่งแวดล้อมและยา การสูบบุหรี่ มลพิษ สารเสพติด อาหาร การใช้ชีวิตนั่งๆนอนๆ
อาการ
เจ็บหน้าอก
คลื่นไส้ อาเจียน
ไข้
เหงื่อออกมากตัวเย็น
อาการทางจิตใจ
อาการของระบบหัวใจและหลอดเลือด
การตรวจวินิจฉัย
ซักประวัติ อาการเจ็บหน้าอก
ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
การตรวจ cardiac biomarker
การตรวจด้วยคลื่นความถี่สูง
การสวนและฉีดสีหลอดเลือดหัวใจ
การรักษา
การจำกัดบริเวณการขาดเลือดของหัวใจ ไม่ให้เกิดวงกว้าง และป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน คือ หัวใจเต้นผิดจังหวะ หัวใจล้มเหลว
หรือช็อคจากหัวใจ (Cardiogenic shock)
การรักษาเบื้องต้น คือ เปิดหลอดเลือดด้วยยาละลายลิ่มเลือด หรือการขยายหลอดเลือดด้วยบอลลูน มีขั้นตอนการรักษา ในระยะ 24 ชั่วโมงแรก
การพยาบาล
ประเมินสัญญาณชีพ oxygen saturation และระดับความรู้สึกตัว เมื่อมีอาการเจ็บหน้าอกทุกชั่วโมง
ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ 12 leads เมื่อแรกรับผู้ป่วยภายใน 10 นาที และทุกครั้งที่มีอาการเจ็บหน้าอก
หยุดการทำกิจกรรมของผู้ป่วย เมื่อมีอาการเจ็บหน้าอก จัดท่านั่งหรือนอนแบบ semi Flowler position
ดูแลให้ได้รับออกซิเจน 2 LPM ทาง nasal cannula ถ้าหายใจเร็วหรือมี oxygen saturation ต่ำกว่าร้อยละ 90
ดูแลให้ได้รับยาขยายหลอดเลือด ตามแผนการรักษาและติดตามอาการความดันโลหิต
ถ้าอาการไม่ดีขึ้น อาจให้ซ้ำทุก 5 นาที
ดูแลให้ได้รับยาต้านการเกาะกลุ่มของเกล็ดเลือด
ติดตามประเมินการทำงานของไต โดยเฉพาะค่ากรองของไต และ creatinine
ดูแลให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
ประเมินความเบาแรงของชีพจรทั้งสองข้าง
หัวใจล้มเหลว
Acute heart failure แบบเฉียบพลันส่วนใหญ่พบในผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตาย ลิ้นหัวใจรั่วอย่างรุแรง
Chronic heart failure เกิดขึ้นซ้ำๆบ่อยๆ พบในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง กล้ามเนื้อหัวใจตาย
กล้ามเนื้อหัวใจอ่อนแรง โรคลิ้นหัวใจ
Heart failure with reduce ejection fraction
มีการบีบตัวของหัวใจห้องล่างซ้ายต่ำกว่า 40%
Heart failure with mid range ejection fraction มี LVEF40-49% มีระดับฮอร์โมนที่หลั่งเมื่อผู้ป่วยมีภาวะน้ำเกินจากการมีภาวะหัวใจล้มเหลว
Heart failure with preserved ejection fraction มี LVEF ตั้งแต่ 50% ขึ้นไป ต้องมีระดับของ BNP/NT-proBNP
ร่วมกับมีความผิดปกติตามเกณฑ์ของ HFmrEF
ปัจจัยเสี่ยง
โรคเบาหวาน โรคอ้วน และกลุ่มอาการเมตาบอลิก ที่ไม่ได้ควบคุม
ผู้ป่วยที่มี SBP สูงกว่า 160 mmHgและDBP น้อยกว่า 90mmHg
กล้ามเนื้อหัวใจอ่อนแรง
อาการแสดง
หัวใจซีกซ้ายวาย
เหนื่อยขณะนอนหลับ ต้องตื่นลุกมานั่งหายใจ หัวใจเต้นเร็ว ผิวหนังส่วนปลายเย็น ชื้น จากหลอดเลือดส่วนปลายหดตัว ปัสสาวะออกน้อย จากเลือดไปเลี้ยงไตลดลง
หัวใจซีกขวาวาย
หลอดเลือดที่ลำคอโป่งพอง บวมกดบุ๋ม ตับโต มีน้ำในช่องท้อง เบื่ออาหาร
การรักษา
รักษาตาม stagr of heart failure
การใส่เครื่องมือพิเศษ
การผ่าตัด
รักษาด้วยยาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจใน นาทีลดลง เนื่องจากประสิทธิภาพการบีบตัวของหัวใจลดลง
การแลกเปลี่ยนก๊าซในปอดลดลงเนื่องจาการระบายอากาศและการกำซาบออกซิเจนไม่เพียงพอ
ความทนต่อการทำกิจกรรมลดลง เนื่องจากประสิทธิภาพการทำงานของหัวใจลดลง
มีโอกาสเกิดภาวะหัวใจล้มเหลวกำเริม
เนื่องจากผู้ป่วยดูแลจัดการตนเองไม่เหมาะสม
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
การสูบบุหรี่เป็นสาเหตุหลัก
มลพิษในอากาศ
ขาด alpha 1-antitrypsin เป็นโรคทางพันธุกรรมทำให้โมเลกุลเอนไซม์ AAT
ที่ผลิตในตับผิดปกติไป
เพศชายและหญิงมีโอกาสเกิดใกล้เคียงกันเนื่องจากผู้หญิงสูบบุหรี่มากขึ้น
ความยากจน อาศัยในที่แออัด
สิ่งแวดล้อมไม่ดี
โรคหอบหืด
อาการและอาการแสดง
เหนื่อย หายใจลำบาก ใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กช่วยในการหายใจ
ไอเรื้อรัง พบในระยะแรกของโรค
อาจมีหรือไม่มีเสมหะร่วมด้วย
แน่นหน้าอก หายใจมีเสียงหวีด
เหนื่อยล้า น้ำหนักลด เบื่ออาหาร
พบบ่อยในระยะรุนแรง
การวินิจฉัย
การซักประวัติ การสูบบุหรี่ สัมผัสสารเคมี มลพิษ
รูปทรงอกอาจพบทรงถังเบียร์ ได้ยินเสียงโปร่งจากการคั่งค้างของหลอดลม
Chest X-ray อาจพยปอดพองลทั้งสองข้าง กะบังลมแบนราบและมีหัวใจขนาดเล็ก
สมรรถภาพปอด โดยใช้เครื่องSpirometry ถ้าค่าที่ได้น้อยกว่า 70% คือเป็นปอดอุดกั้นเรื้อรัง
การรักษา
การหยุดสูบบุหรี่
การรักษาด้วยออกซิเจน
การใช้ยาขยายหลอดลมกลุ่ม
Bata-adrenergic agonist
กลุ่ม Anticholinergic
กลุ่ม Methyxanthines
การใช้ยาลดการอักเสบกลุ่มคอร์ติโคสเตียรอยด์
การให้วัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่
การให้ Alpha 1 antitrypsin
การฟื้นฟูสมรรถภาพปอด
การพยาบาล
ประเมินการหายใจ อัตราการหายใจ ภาวะพร่องออกซิเจน การใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กในการช่วยหายใจ
ดูแลให้ออกซิเจนตามแผนการรักษา
จัดท่า high fowler เพื่อให้ออกซิเจนเข้าสู่ปอดได้ดี
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง สามารถระบายเสมหะได้ดี ดูดเสมหะตามความจำเป็น
ให้ยาขยายหลอดลมตามแผนการรักษา
สอนและสาธิตการไออย่างมีประสิทธิภาพโดยใช้กล้ามเนื้อหน้าท้อง
พักผ่อนและลดการทำกิจกรรมเพื่อสงวนพลังงาน
1 more item...
ความดันโลหิตสูง
ระดับความดันโลหิต
140/90 mmHg หรือมากกว่า
ซึ่งอาจจะเป็นตัวบนหรือล่างก็ได้
Isolated systolic hypertension คือ ระดับความดันโลหิตตัวบน 140 mmHg หรือมากกว่า แต่ระดับความดันตัวล่างต่ำกว่า 90 mmHg
Isolated office hypertension คือ ระดับความดันโลหิต เมื่อวัดที่สถานพยาบาลมีค่า 140/90 มม.ปรอทหรือมากกว่า แต่เมื่อวัดที่บ้านพบว่าต่ำกว่า135/85
Mask hypertension คือ วัดความดันโลหิตที่คลินิกหรือโรงพยาบาล ปกติ
แต่วัดที่บ้านสูงกว่าปกติ
จุดมุ่งหมายการประเมินผู้ป่วยที่สงสัยว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูง
1.เพื่อยืนยันว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูงและประเมินความรุนแรงของโรค
3.เพื่อตรวจหาโรคที่มีความเสี่ยงต่อการเกิด CVD เช่นโรคเบาหวาน,CKD
4.เพื่อตรวจหาโรคความดันโลหิตสูงทุติยภูมิที่อาจรักษาต้นเหตุได้
2.เพื่อประเมินร่องรอยอวัยวะที่ถูกทำลาย
ได้แก่ LVH,hypertensive retinophathy,microalbuminuria,macroalbuminuria
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Fasting plasma glucose
serum total cholesterol,HDL,LDL,triglyceride
serum electrolyte,serum creatinine,GFR
Hb,Hct
UA
ECG
ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ
และหลอดเลือด
2.ระดับ pulse pressure > 60 มม.ปรอท
1.ระดับ SBP/DBP
3.อายุ>55 ปี ในเพศชาย หรือ >65ปี ในเพศหญิง
7.ประวัติการเกิด CVD
ในบิดามารดา
4.สูบบุหรี่
5.ระดับไขมันในเลือดผิดปกติ
6.FPG 100-125 มก./ดล.
8.อ้วนลงพุง WC > 90 ซม.ในชาย
80 ซม.ในหญิง
การรักษา
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การดำเนินชีวิต
รักษาด้วยยา
calcium chanel blockers
Angiotensin converting enzyme inhibitiors
thiazide-type diuretics
Angiotensin receptor blockers
การพยาบาล
สร้างสุขนิสัยที่ดีและมีพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันความดันโลหิตสูง เช่น รับประทานอาหารแบบ DASH ลดอาหารรสจัดและมีโซเดียมสูง (จำกัดโซเดียมไม่เกิน 2300 มิลลิกรัมต่อวัน)
ออกกำลังกายแบบแอโรบิคอย่างสม่ำเสมอ ควรออกกำลังกายความหนักระดับปานกลางอย่างน้อยวันละ
30 นาที สัปดาห์ละ 5 วัน เพื่อสุขภาพที่ดี
ผ่อนคลายความเครียด พักผ่อนให้เพียงพอ นั่งสมาธิ หาเวลานอนพักในเวลากลางวัน อย่างน้อย 30นาทีถึง 1 ชั่วโมง
หยุดสูบบุหรี่และงดดื่มแอลกอฮอล์
ติดตามวัดความดันโลหิตสม่ำเสมอ
ปัญหาในการสื่อสาร
ปัจจัยด้านผู้สูงอายุ
หู ความสามารถในการได้ยินลดลง
ตา ฝ้ามัว มองไม่ชัด
อวัยวะการพูด มะเร็งกล่องเสียงหรือช่องปาก ผู้ที่เจาะคอ ความจำเสื่อม
ความผิดปกติของการสื่อสารด้วยคำพูด
Aphasia พูดไม่ได้ หรือพูดให้เข้าใจไม่ได้ มักพบในผู้ป่วยหลอดเลือดสมอง
เนื้องอกที่สมอง
Dysarthria ความผิดปกติในการควบคุมกล้ามเนื้อการพูด คือ พูดไม่ได้ พูดไม่ชัด พูดแบบลิ้นแข็งๆ เกิดจากการอ่อนแรงของใบหน้า ปาก ลิ้น และขากรรไกร ผู้ป่วยยังเข้าใจการสนทนา การอ่าน การเขียน
การพยาบาลผู้สูงอายุที่มีปัญหา Aphasia
อธิบายสถานการณ์ การบำบัดรักษาและกิจกรรมทุกอย่างที่ต้องปฏิบัติกับผู้สูงอายุ
พยายามสื่อวารด้วยคำพูดถ้าผู้สูงอายุฟังเข้าใจ
ให้เวลาผู้สูงอายุในการสื่อสาร
จัดสิ่งแวดล้อมที่เงียบ
พูดช้า ชัด ถามทีละคำถาม ให้รอคำตอบ อาจต้องถามซ้ำตามจำเป็น
ตกลงกับทีมสุขภาพให้เข้าใจกิริยาท่าทางที่ใช้หมายถึงอะไร เพื่อลดความสับสน
กระตุ้นให้ผู้สูงอายุพูดจนจบ พยายามฟังและจับใจความ เปิดโอกาสในการถ่ายทอดความคิด
การพยาบาลผู้สูงอายุที่มีปัญหา
Dysarthria
บอกกับผู้สูงอายุ ว่ามีความยากลำบากในการสื่อสาร
พูดช้าๆ ดังๆ ในสิ่งแวดล้อมที่เงียบ
จัดท่านั่งตัวตรง ช่วยให้ออกเสียงได้ดีขึ้น
หายใจลึกๆก่อนพูด พูดทีละคำ พูดขณะหายใจออก เปิดปากกว้าง เพื่อให้ลิ้นได้เคลื่อนไหว
บริหารใบหน้า เช่น เป่าลมห่อปาก
ย่นหน้าผาก ยิ้ม นวดหน้า
สอบถามผู้สูงอายุถึงวิธีการที่จะช่วยในการสื่อสาร เช่น ช่วยเดา ช่วยต่อประโยค
การพยาบาลผู้สูงอายุที่มีปัญหาการมองเห็น
ประเมินว่าควรจะพูดคุยทางด้านไหนจึงจะเหมาะสม
ผู้สูงอายุตาบอดต้องส่งเสียงพูดเมื่อพบกัน เมื่อจากไปต้องบอก
อธิบายสิ่งที่อยู่รอบตัวเพื่อให้ผู้สูงอายุคุ้นเคย
ลดสิ่งรบกวนความสนใจ
พูดด้วยน้ำเสียง ท่าทาง ปกติ
ตรวจสอบแสงสว่างที่เหมาะสมกับการมองเห็นที่เหลืออยู่
เมื่อส่งของให้ผู้สูงอายุ
ควรบอกให้ผู้สูงอายุรับรู้
บอกต่ำแหน่งของสิ่งต่างๆรอบตัวผู้สูงอายุ รวมทั้งให้ผู้สูงอายุจับแขนหากเดินบนพื้นต่างระดับ
1 more item...
นางสาวญาณิศา พลศักดิ์ 61106010005 B01