Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล, image, image, image, image, image - Coggle…
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล
ชนิดของแผลและปัจจัยการส่งเสริมการหายของแผล
ชนิดของแผล (Type of wound)
ชนิดของแผลแบ่งตามสาเหตุ
แผลที่เกิดจากการผ่าตัด
แผลที่เกิดจากถูกของมีคมตัด
แผลที่เกิดจากถูกของมีคมทิ่มแทง
แผลที่เกิดจากโดนระเบิด
แผลที่เกิดจากถูกบดขยี้
แผลที่เกิดจากการกระแทกด้วยวัตถุลักษณะมน
แผลที่เกิดจำกถูกยิง เรียก gunshot wound
แผลที่มีขอบแผลขาดกะรุ่งกะริ่ง เรียก lacerated wound
แผลที่เกิดจากการถูไถลถลอก เรียก abrasion wound
แผลที่เกิดจากการติดเชื้อมีหนอง เรียก infected wound
แผลที่เกิดจากการตัดอวัยวะบางส่วน
แผลที่เกิดจากการกดทับ
แผลที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและเคมี
13.1 จากไฟไหม้ น้ำร้อนลวก (burn and scald)
13.2 จากสารเคมีที่เป็นด่าง (alkaline burn)
13.3 จากสารเคมีที่เป็นกรด (acid burn)
13.4 จากถูกความเย็นจัด (frost bite)
13.5 จากไฟฟ้าช็อต (electrical burn)
13.6 จำกรังสี (radiation burn)
แผลที่เกิดจากการปลูกผิวหนัง
ชนิดของแผลแบ่งตามลักษณะพื้นผิว
แผลลักษณะแห้ง (dry wound)
แผลลักษณะเปียกชุ่ม (wet wound)
ชนิดของแผลแบ่งตามลำดับความสะอาด
Class I: Clean wound ประเภทที่ 1 แผลผ่ำตัดสะอำด
Class II: Clean--contaminated ประเภทที่ 2 แผลสะอำดกึ่งปนเปื้อน
Class III: Contaminated ประเภทที่ 3 แผลปนเปื้อน
ชนิดของบาดแผลแบ่งตามระยะเวลาการเกิด
แผลที่เกิดเฉียบพลัน (acute wound)
แผลเรื้อรัง (chronic wound)
แผลเนื้อตำย (gangrene wound)
ชนิดของแผลแบ่งตามการรักษา
การรักษำผู้ป่วยศัลยกรรมกระดูกด้วยวิธีกำรจัดกระดูกให้อยู่นิ่ง
การรักษาแผลด้วยสุญญากาศ
แผลท่อระบาย
แผลท่อหลอดคอ (tracheostomy tube)
แผลท่อระบายทรวงอก (chest drain)
แผลทวารเทียมหน้ำท้อง (colostomy)
ปัจจัยที่มีผลต่อการหายของบาดแผล
ปัจจัยเฉพาะที่ (Local factors)
แรงกด (pressure)
ภาวะแวดล้อมแห้ง (dry environment)
ปัจจัยระบบ (Systemic factors)
โรคเรื้อรัง (chronic disease)
อายุ (age)
ลักษณะและกระบวนการหายของแผล
ลักษณะการหายของแผล (Type of wound healing)
การหายของแผลแบบปฐมภูมิ (Primary intention healing)
การหายของแผลแบบทุติยภูมิ (Secondary intention healing )
การหายของแผลแบบตติยภูมิ (Tertiary intention healing)
กระบวนการหายของแผล (Stage of wound healing)
ระยะ 1: ห้ามเลือดและอักเสบ (Hemostasis and Inflammatory phase)
ระยะ 2: การสร้างเนื้อเยื่อ (Proliferate phase)
ระยะ 3: การเสริมความแข็งแรง (Remodeling phase)
การบันทึกลักษณะบาดแผล
มาตรการวัดของแผล คือ
ชนิดของบำดแผล เช่น แผลผ่ำตัด (incision wound) เย็บกี่เข็ม (stitches)
ตำแหน่ง/บริเวณ เช่น ตำแหน่ง RLQ
ขนาด ควรระบุเป็นเซนติเมตร
สี เช่น แดง (readiness) เหลือง (yellow) ดำ (black) หรือปนกัน
ลักษณะผิวหนัง เช่น ผื่น (rash) เปียกแฉะ (Incontinence) ตุ่มน้ำพองใส (bruises)
ขั้นหรือระยะควำมรุนแรงของบำดแผล เช่น แผลกดทับขั้น 4 (4th stage)
สิ่งที่ปกคลุมบำดแผลหรือสำรคัดหลั่ง
วิธีการเย็บแผลและวัสดุที่ใช้ในการเย็บแผล
ห้ามเลือด
ดึงขอบแผลเข้ำหำกัน
ส่งเสริมกำรหำยของแผล
ป้องกันมิให้เชื้อโรคเข้ำไปในแผล
รักษำสภำพปกติของผิวหนัง
วิธีการเย็บแผล
Continuous method
Interrupted method
Subcuticular method
Retention method (Tension method)
วัสดุที่ใช้ในการเย็บแผล
วัสดุที่ละลายได้เอง (Absorbable sutures)
เส้นใยธรรมชาติ ได้แก่ catgut ทำมำจำก collagen
วัสดุที่ไม่ละลายเอง (Non--absorbable sutures)
เส้นใยตามธรรมชาติ เช่น ไหมเย็บแผล (silk) รำคำถูก ผูกปมง่ำย
วิธีการทาแผลชนิดต่างๆ และการตัดไหม
ชนิดของการทาแผล
การทำแผลแบบแห้ง (Dry dressing)
การทำแผลแบบเปียก (Wet dressing)
อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำแผล
อุปกรณ์ทาความสะอาดแผล
ชุดทาแผล (dressing set)
สารละลาย (solution)
วัสดุสำหรับปิดแผล
ผ้ำก๊อซ (gauze dressing)
ผ้ำก๊อซหุ้มสำลี (top dressing)
วัสดุสาหรับยึดติดผ้าปิดแผล
ภาชนะสาหรับทิ้งสิ่งสกปรก
ชำมรูปไต ถุงพลำสติก
การทาแผลผ่าตัดแบบแห้ง (Dry dressing)
เปิดแผลโดยใช้มือ (ใส่ถุงมือ)
เปิดชุดทำแผล (ตามหลักการของ IC)
การทำแผลผ่าตัดแบบเปียก (Wet dressing)
การทำแผลผ่าตัดที่มีท่อระบาย (Tube drain)
การตัดไหม (Suture removal)
หลักการตัดไหม
ตรวจสอบคำสั่งกำรรักษำของแพทย์ทุกครั้ง
อาศัยอยู่ตามผิวหนังในการตัดและดึงไหมออกจึงไม่ควรดึงไหมส่วนที่มองเห็นลอดผ่านใต้ผิวหนัง
ขณะตัดไหมหากพบว่ามีขอบแผลแยกให้หยุดทำ
วิธีทาการตัดไหม
ทำความสะอาดแผล ใช้ alcohol 70% เช็ดรอบแผล
การตัดไหมที่เย็บแผลชนิด interrupted method
การตัดไหมที่เย็บแผล
การตัดไหมที่เย็บแผลแบบต่อเนื่อง continuous method
กรณีที่ใช้ลวดเย็บเป็นวัสดุเย็บแผล ทำควำมสะอาดแผลผ่าตัดตามปกติ
ตัดไหมครบทุกเส้นแล้ว เช็ดแผลด้วย normal saline 0.9%