Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบทางเดินหายใจ - Coggle Diagram
บทที่ 8ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบทางเดินหายใจ
โรคที่เกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ
โรคหืด (Asthma )
โรคที่เกิดจากการหดตัวหรือตีบแคบของระบบทางเดินหายใจเป็นครั้งคราว ทำให้ผู้ป่วยมีอาการหายใจหอบเหนื่อย เป็นๆ หายๆ เรื้อรัง
• สาเหตุอาจเกิดจากหลายปัจจัย เช่น กรรมพันธุ์ ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย การติดเชื้อ สิ่งแวดล้อม
ยาที่ใช้ในการรักษาหอบหืด
1.ยาขยายหลอดลม (Bronchodilators)
1.1 ยากลุ่มกระตุ้นตัวรับชนิดเบต้า-2 (beta-2 agonists)
a.กลุ่มยาที่มีระยะเวลาในการออกฤทธิ์สั้น
(short-acting)
ออกฤทธิ์ประมาณ 4-6 ชั่วโมงยา ได้แก่ Terbutaline (Bricanyl®และ Salbutamol or Albuterol(Ventolin®
b.กลุ่มยาที่มีระยะเวลาในการออกฤทธิ์นาน (long-acting)
ออกฤทธิ์ประมาณ 12 ชั่วโมง ได้แก่ salmeterol, fenoterol, formoterol
1.2 ยากลุ่มเมทิลแซนธีน (Methylxanthines)
caffeinetheophylline, theobromine ปัจจุบันตัวที่นิยมนำมารักษาโรคหอบหืด คือ Theophylline
The-dur®
ยาออกฤทธิ์โดยการยับยั้งเอนไซม์
1.3 ยากลุ่มที่มีฤทธิ์ต้านโคลิเนอร์จิก
(Anticholinergic drugs or Muscarinic antagonists)
นำมาใช้ในการรักษาหอบหืดคือ ipratropium bromide แต่ประสิทธิภาพของยากลุ่มนี้จะน้อยกว่ากลุ่ม beta-2 agonists
ยาต้านการอักเสบ (Anti-inflammatory drugs)
2.1 ยากลุ่มคอร์ติโคสเตียรอยด์(Corticosteroids) โดยทั่วไปนิยมยาพ่นสเตียรอยด์(inhaled corticosteroids) จะให้ในระยะเวลาสั้นๆ 3-5 วัน ไม่ควรเกิน 7 วันยารับประทาน เช่น prednisolone, ยาฉีด เช่น hydrocortisone, ยาสูดพ่น เช่น beclomethasone, budesonide
2.2 ยากลุ่มยับยั้งการหลั่งสารสื่อจากเซลล์ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการอักเสบ
ได้แก่ Cromolyn sodium (disodium cromoglycate) Nedocromil sodium ยาทั้งสองตัวจะยับยั้งการหลั่งสารสื่อต่างๆ
ต้องใช้ยาติดต่อกันประมาณ 2-3 เดือนจึง
จะเห็นผลในการรักษา
โรคหวัด ( Acute Rhinopharyngitis;common cold)
โรคไข้หวัดใหญ่ ( Influenza)
คออักเสบ ( Acute pharyngitis)
โรคปอดอักเสบ (Pneumonia)
โรคหลอดลมอักเสบ ( Acute Bronchitis)
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง Chronic obstructive pulmonary disease( COPD)คือโรคที่เกิดจากความผิดปกติของปอด ซึ่งเป็นกลุ่มหนึ่งของโรคปอดอักเสบเรื้อรังเช่น ไอมีเสมหะ เหนื่อยหอบ แน่นหน้าอก
การไออาจแบ่งได้เป็น 2 แบบ ได้แก่
-ไอแบบไม่มีเสมหะ (dry or nonproductive cough) มีลักษณะเป็นการไอแห้งๆ ไอถี่ๆ แต่ไม่มีเสมหะออกมายากดการไอ (anti-tussives or cough suppressants)
-การไอแบบมีเสมหะ (productive cough) การไอแบบนี้มีประโยชน์ในการช่วยขับสิ่งแปลกปลอมหรือสารคัดหลั่งต่างๆ ออกจากทางเดินหายใจ อาจให้ยาละลายเสมหะ (mucolytics)
หรืออาจให้ยาขับเสมหะ (expectorants)
ยาแก้ไอจึงแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ดังนี
1 ยาระงับไอ หรือยากดการไอ (Anti-tussives or Cough Suppressants)แบ่งได้อีก 2 กลุ่มย่อย
1.1 ยาระงับไอชนิดเสพติด (Narcotic Antitussives)
ยาในกลุ่มนี้เป็นอนุพันธ์ของฝิ่น ได้แก่ codeineการใช้ยานี้อาจทำให้เกิดอาการง่วงซึมเสพติดและการใช้ขนาดสูงๆ จะทำให้กดการหายใจได้
1.2 ยาระงับไอชนิดไม่เสพติด (Non-narcotic Antitussives)
กลุ่มที่เป็นอนุพันธ์ของฝิ่นได้แก่
dextromethorphan ยาชนิดนี้ได้รับความนิยมมากในการระงับไอแบบแห้งๆ ไม่ทำให้เสพติด
ยากลุ่มยาต้านฮิสตามีนที่มีฤทธิ์ระงับไอ ได้แก่ diphenhydramine
ยาละลายเสมหะ (Mucolytics)
ยาในกลุ่มนี้มีกลไกในการออกฤทธิ์ไปทำลายโครงสร้างของเสมหะ ทำให้เสมหะแยกกันออกเป็นส่วนๆ เสมหะมีความหนืดลดลง ทำให้ถูกขับออกเช่น bromhexine, ambroxal, acetylcysteine, carbocysteineทุกๆ 4 ชั่วโมง อีก 17 dose)
ยาขับเสมหะ (Expectorants)
ยาในกลุ่มนี้จะมีกลไกในการออกฤทธิ์โดยการกระตุ้นให้มีการขับเสมหะ ทำให้เสมหะอ่อนตัวลง
ได้แก่ guaifenesin (glyceryl guaiacolate),ammonium chloride, potassium iodide
Nasal Decongestants ยาแก้คัดจมูก
Nasal Decongestants (Cont’d)
Adverse effects:
Adverse effects (Cont’d):
Nursing alerts:
Nursing alerts (Cont’d):
ยาแก้แพ้หรือยาต้านฮิสตามิน
เป็นกลุ่มยาที่มีโครงสร้างคล้ายสารฮิสตามีน (Histamine) ที่เมื่อรับประทานยาเข้าไปแล้ว ยาจะเข้าไปจับกับตัวจับกับตัวรับของสารฮิสตามีน (Histamine receptor) ที่อยู่บนผิวของเนื้อเยื่อตามระบบหายใจ เช่น ในโพรงจมูกหลอดลม ถุงลม และตามผิวหนังต่างๆ
โรคภูมิแพ้
โรคภูมิแพ้มีหลายประเภทขึ้นอยู่กับว่ากระบวนการแพ้ไปเกิดที่อวัยวะส่วนไหน
ถ้าเกิดที่จมูก จะให้มีอาการน้ำมูกไหล
จาม คัดแน่นจมูก เป็นหวัดภูมิแพ้
• ถ้าเกิดที่เนื้อปอด ถุงลม หลอดลม จะทำให้หลอดลมหดเกร็ง มีอาการหอบ เป็นโรคหืด
ถ้าเกิดที่ผิวหนังจะมี ผื่นขึ้น คัน เป็นลมพิษ และ
• ถ้าเกิดที่เยื่อบุตา จะทำให้มีอาการ คันตา เคืองตา น้ำตาไหล ตาแดงที่เรียกว่า เยื่อบุตาอักเสบจากการแพ้
ยาที่มีผลต่อระบบภูมิคุ้มกันโรค
( Immunomodulation drugs )
Thalidomide ใช้รักษามะเร็งได้หลายชนิด เช่น melanoma, multiple myeloma, renal cell และมะเร็งรังไข
ยา Lenalidomide เป็นยาที่ปรับเปลี่ยนภูมิคุ้มกันตัวใหม่ โดยไม่ต้องใช้วิธีรักษาด้วยคีโมบำบัด
Apremilast
อักเสบหลายชนิด เช่น eosinophils, neutrophils, macrophages, T cells
เช่น โรคสะเก็ดเงิน (psoriasis)ยาที่ออกฤทธิ์ยับยั้ง PDE4 (PDE4 inhibitor) คือ apremilast
ยากดภูมิคุ้มกัน (Immunosuppressants)
ได้แก่ เพร็ดนิโซโลน (Prednisolone), เมโธเทรกเซท(Methotrexate), เอซาไธโอพรีน (Azathioprine)สะเก็ดเงิน (Psoriasis), โรคตุ่มน้ำพอง,
โรค Auto immune
ออโตอิมมูน (Autoimmune)” หมายถึงการที่ภูมิคุ้มกันร่างกายเข้าทำร้ายเนื้อเยื่อร่างกายของตัวเอง
เพร็ดนิโซโลน (Prednisolone)
เพรดนิโซโลน (Prednisolone)จัดเป็นสารสังเคราะห์กลุ่ม Glucocorticoid นำมาใช้ทางการแพทย์โดยมีวัตถุประสงค์ต้านการอักเสบ
เมโธเทรกเซท (Methotrexate)
methotrexate เป็นยาเคมีบำบัดชนิดหนึ่ง
เอซาไธโอพรีน (Azathioprine)
Azathioprine เป็นยา immunosuppressants มีฤทธิ์กดการทำงานของภูมิคุ้มกัน เป็นยาที่ใช้ในการรักษาโรคตุ่มน้ำพอง โรคเอสแอลอี
ไซโคลสปอริน (Cyclosporin)
ยาไซโคลสปอรินนำมาใช้กดภูมิคุ้มกันฯในการปลูกถ่ายอวัยวะโรคข้อรูมาตอยด์(Rheumatoid arthritis)
ไซโคลฟอสฟาไมด์(Cyclophosphamild)
ยาซัยโคลฟอสฟาไมด์เป็นยาที่อยู่ในกลุ่ม Alkylating agentsเป็นยาที่ใช้ในการรักษาโรคตุ่มน้ำพอง