Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล
ชนิดของแผลและปัจจัยการส่งเสริมการหายของแผล
ชนิดของแผลแบ่งตามสาเหตุ
แผลที่เกิดจำกกำรผ่าตัด เรียก surgical wound
แผลที่เกิดจากถูกของมีคมตัด เรียก cut wound
แผลที่เกิดจากถูกของมีคมทิ่มแทง เรียก stab wound
แผลที่เกิดจากโดนระเบิด เรียก explosive wound
แผลที่เกิดจากถูกบดขยี้ เรียก crush wound
แผลที่เกิดจากการกระแทกด้วยวัตถุลักษณะมน เรียก traumatic wound
แผลที่เกิดจากถูกยิง เรียก gunshot wound
แผลที่มีขอบแผลขาดกะรุ่งกะริ่ง เรียก lacerated wound
แผลที่เกิดจากการถูไถลถลอก เรียก abrasion wound
แผลที่เกิดจากการติดเชื้อมีหนอง เรียก infected wound
แผลที่เกิดจากการตัดอวัยวะบำงส่วน เรียก stump wound
แผลที่เกิดจากการกดทับ เรียก pressure sore
แผลที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทำงกำยภำพและเคมี
แผลที่เกิดจากการปลูกผิวหนัง (skin graft)
ชนิดของแผลแบ่งตามลักษณะพื้นผิว
แผลลักษณะแห้ง (dry wound)
ลักษณะของแผลมีขอบแผลติดกันอาจเกิดการติดกันเอง
จากการเย็บด้วยวัสดุเย็บแผล ไม่มีสารคัดหลั่ง
แผลลักษณะเปียกชุ่ม (wet wound)
ลักษณะของขอบแผลไม่ติดกัน
ขอบแผลกว้าง มีสารคัดหลั่ง
ชนิดของแผลแบ่งตามลำดับความสะอาด
Class I: Clean wound ประเภทที่ 1 แผลผ่ำตัดสะอาด
ลักษณะเป็นแผลที่ไม่มีกำรติดเชื้อ
ไม่มีการอักเสบมาก่อน
การผ่าตัดไม่ผ่านระบบทำงเดินหายใจ ระบบทางเดินอาหาร
Class II: Clean-contaminated ประเภทที่ 2 แผลสะอำดกึ่งปนเปื้อน
ลักษณะแผลที่มีการผ่าตัดผ่านระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินอาหาร
ระบบทางเดินปัสสาวะ
เป็นการผ่าตัดที่เกี่ยวกับท่อน้ำดี
Class III: Contaminated ประเภทที่ 3 แผลปนเปื้อน
ลักษณะแผลเปิด (open wound)
แผลสด (fresh wound)
แผลจากการได้รับอุบัติเหตุแผลที่เกิดการปนเปื้อนสารคัดหลั่งจากระบบทางเดินอาหาร
Class IV: Dirty/Infected ประเภทที่ 4 แผลสกปรก/แผลติดเชื้อ
ลักษณะแผลเก่า (old traumatic wound)
แผลมีเนื้อตาย(gangrene)
แผลมีการติดเชื้อมาก่อน
แผลกระดูกหักเกิน 6ชั่วโมง
ชนิดของบาดแผลแบ่งตามระยะเวลาการเกิด
แผลที่เกิดเฉียบพลัน (acute wound)
เป็นการเกิดแผล และรักษาให้หำยในระยะเวลาอันสั้น
การหายของแผลเป็นไปตำมขั้นตอนการหายของบาดแผล
แผลเรื้อรัง (chronic wound)
เป็นแผลที่เกิดขึ้นเป็นระยะเวลานานและรักษายาก
รักษาเป็นเวลานาน อาจมีอาการแทรกซ้อนตามมาภายหลัง
แผลเนื้อตาย (gangrene wound)
เป็นแผลที่เกิดจากการขาดเลี้ยงไปเลี้ยง
เลือดมาเลี้ยงไม่เพียงพอ สาเหตุจากหลอดเลือดตับแข็ง
ชนิดของแผลแบ่งตามการรักษา
การรักษาผู้ป่วยศัลยกรรมกระดูกด้วยวิธีการจัดกระดูกให้อยู่นิ่ง
การรักษาแผลด้วยสุญญากาศ
ลดการบวมของแผล
เพิ่มปริมาณเลือดมาสู่แผล
กระตุ้นการงอกใหม่ของเซลล์
ลดแบคทีเรียในแผล
แผลท่อระบาย เป็นแผลผ่าตัดซึ่งศัลยแพทย์เจาะผิวหนัง
แผลท่อหลอดคอ
แผลท่อระบายทรวงอก
แผลทวารเทียมหน้าท้อง
ปัจจัยที่มีผลต่อการหายของบาดแผล
ปัจจัยเฉพาะที่ (Local factors)
แรงกด (pressure)
ภาวะแวดล้อมแห้ง (dry environment)
การได้รับอันตรายและอาการบวม (trauma and edema)
การติดเชื้อ (infection)
ภาวะเนื้อตาย (necrosis)
ความไม่สุขสบาย (incontinence)
ปัจจัยระบบ (Systemic factors)
อายุ (age)
โรคเรื้อรัง (chronic disease)
น้ำในร่างกาย (body fluid
การไหลเวียนของโลหิตบกพร่อง (vascular insufficiencies)
ภาวะกดภูมิคุ้มกันและรังสีรักษา (immunosuppression)
ภาวะโภชนาการ (nutritional status)
ลักษณะและกระบวนการหายของแผล
การหายของแผลแบบปฐมภูมิ(Primary intention healing)
แผลผ่าตัด
การรักษาโดยการเย็บดึงขอบแผลเข้าหากัน
แผลขนาดเล็กน้อยแล้วแผลสมานหายได้เองตามธรรมชาติ
การหายของแผลแบบทุติยภูมิ(Secondary intention healing )
เป็นแผลขนาดใหญ่ที่เนื้อเยื่อถูกทำลาย
มีการสูญเสียเนื้อเยื่อบางส่วน
ขอบแผลมีขนาดกว้างเย็บแผลไม่ได้
การหายของแผลแบบตติยภูมิ(Tertiary intention healing)
ไม่มีอาการการแสดงภาวะติดเชื้อแล้ว
ศัลยแพทย์จะพิจารณาปลูกถ่ายผิวหนัง (skin graft) โดยนำผิวหนังของ
ผู้ป่วยมาปะติดคลุมแผล
กระบวนการหายของแผล (Stage of wound healing)
ระยะ1: ห้ามเลือดและอักเสบ (Hemostasis and Inflammatory phase)
ระยะ 2: การสร้างเนื้อเยื่อ (Proliferate phase)
ระยะ 3: การเสริมความแข็งแรง (Remodeling phase)
วิธีการเย็บแผลและวัสดุที่ใช้ในการเย็บแผล
วัตถุประสงค์ของการเย็บแผล
ห้ามเลือด
ดึงขอบแผลเข้าหากัน
ส่งเสริมการหายของแผล
ป้องกันมิให้เชื้อโรคเข้าไปในแผล
รักษาสภาพปกติของผิวหนัง
วิธีการเย็บแผล
Continuous method เป็นวิธีการเย็บแผลแบบต่อเนื่องตลอดความยาวของแผล
Interrupted method เป็นวิธีการเย็บแผลที่ต้องตัดวัสดุเย็บแผลในทุกฝีเข็ม
Subcuticular methodใช้เข็มตรงในการเย็บ และซ่อนวัสดุเย็บแผลไว้ในชั้นใต้ผิวหนัง
Retention methodเป็นวิธีการเย็บรั้งแผลเข้าหากัน
วัสดุที่ใช้ในการเย็บแผล
วัสดุที่ละลายได้เอง (Absorbable sutures)
เส้นใยธรรมชาติ
เส้นใยสังเคราะห์
วัสดุที่ไม่ละลายเอง (Non-absorbable sutures)
เส้นใยตามธรรมชาติ
เส้นใยสังเคราะห์
วัสดุที่เย็บเป็นโลหะ
วิธีการทำแผลชนิดต่างๆ และการตัดไหม
ชนิดของการทำแผล
การทำแผลแบบแห้ง (Dry dressing)
การทำแผลแบบเปียก (Wet dressing)
อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำแผล
อุปกรณ์ทำความสะอาดแผล
ชุดทำแผล (dressing set)
สารละลาย (solution)
วัสดุสำหรับปิดแผล
วัสดุสำหรับยึดติดผ้าปิดแผล
อุปกรณ์อื่น ๆ
ภาชนะสำหรับทิ้งสิ่งสกปรก
การทำแผลผ่าตัดแบบแห้ง (Dry dressing)
เปิดแผลโดยใช้มือ (ใส่ถุงมือ)
เปิดชุดทำแผล (ตามหลักการของ IC)
หยิบ non-tooth forcepsใช้คีบส่งของ sterile
หยิบ tooth forceps ใช้รับของ sterile
หยิบสำลีชุบ alcohol 70% เช็ดรอบๆ
หยิบสำลีชุบ 0.9% NSS เช็ดจากบนลงล่ำงจนแผลสะอำดแล้วเช็ดด้วยสำลีแห้ง
ทำแผลด้วย antiseptic solution
ปิดแผลด้วย gauze
เก็บอุปกรณ์
การทำแผลผ่าตัดแบบเปียก (Wet dressing)
เปิดแผลโดยใช้มือ
ทำความสะอาดริมขอบแผล
ใช้สำลีชุบน้ำเกลือหรือน้ำยาตามแผนการรักษาเช็ดภายในแผลจนสะอาด
ใช้ผ้า gauze ชุบน้ำยา(solution) ใส่ในแผล (packing)
ปิดแผลด้วยผ้า gauze
การทำแผลผ่าตัดที่มีท่อระบาย (Tube drain)
เพื่่อช่วยระบ่ยสารคัดหลั่งและเลือดเก่าที่ค้างอยู่จำกการผ่าตัดให้ไหลออกมาได้ดีขึ้น
ช่วยให้เนื้อเยื่อใต้ผิวหนังไม่เกิดช่องว่าง (death space)ทำให้การหายของแผลดีขึ้น
การตัดไหม (Suture removal)
หลักการตัดไหม
ตรวจสอบคำสั่งการรักษาของแพทย์ทุกครั้งว่ามีจุดประสงค์ให้ตัดไหมทุกอัน
เศษไหมที่เย็บแผลส่วนที่มองเห็นเป็นส่วนที่มีการสัมผัสเชื้อแบคทีเรียที่อาศัยอยู่
ขณะตัดไหมหากพบว่ามีขอบแผลแยกให้หยุดทำ และปิดแผลด้วยวัสดุที่ช่วยดึงรั้งให้ขอบแผลติดกัน
วิธีทำการตัดไหม
ทำความสะอาดแผล
การตัดไหมที่เย็บแผลชนิด interrupted method
การตัดไหมที่เย็บแผล ชนิด interrupted mattress
การตัดไหมที่เย็บแผลแบบต่อเนื่อง continuous method
กรณีที่ใช้ลวดเย็บเป็นวัสดุเย็บแผล ทำความสะอำดแผลผ่าตัดตามปกติ
ภายหลังตัดไหมครบทุกเส้นแล้ว เช็ดแผลด้วย normal saline 0.9%
วิธีการพันแผลชนิดต่างๆ
ชนิดของผ้าพันแผล
ผ้าสามเหลี่ยม (triangular bandage)
ผ้าพันแผลชนิดม้วน (roller bandage)
ผ้าพันแผลชนิดพิเศษ (special bandage)
การพันผ้าแบบชนิดม้วน
การพันแบบวงกลม (circular turn)
การพันแบบเกลียว (spiral turn)
การพันแบบเกลียวพับกลับ (spiral reverse)
การพันเป็นรูปเลข 8 (figure of eight)
การพันแบบกลับไปกลับมา(recurrent)
หลักการพันแผล
ผู้พันผ้าและผู้บาดเจ็บหันหน้าเข้าหากัน
ตำแหน่งที่ต้องการจะพันผ้าผิวหนังบริเวณนั้นต้องสะอาดและแห้ง
การลงน้ำหนักมือเพื่อดึงผ้าพันแผลควรระวังใช้น้ำหนักให้เหมำะสม
ต้องทำความสะอาดบาดแผล
ตำแหน่งที่บาดเจ็บ
การพันผ้าบริเวณเท้า ขา ตะโพก ต้องมีผู้ช่วยคอยประคองอวัยวะส่วนนั้นไว้
การพันผ้าใกล้ข้อ ต้องพันผ้า โดยคำนึงถึงกำรขยับเคลื่อนไหวของข้อนั้นด้วย
ปัจจัยที่ทำให้เกิดแผลกดทับ ระยะของแผลกดทับแผลการป้องกันแผลกดทับ
ปัจจัยส่งเสริมการเกิดแผลกดทับ
ปัจจัยภายในร่างกาย
อายุ
ภาวะโภชนาการ
ยาที่ได้รับการักษา
การผ่าตัด
ปัจจัยภายนอกร่างกาย
แรงกด
แรงเสียดทาน
แรงเฉือน
ความชื้น
การป้องกันการเกิดแผลกดทับ
การประเมินความเสี่ยงตามแบบประเมินความเสี่ยงของการเกิดแผลกดทับ
การเฝ้าระวังความเสี่ยงและควรการประเมินซ้ำเมื่อมีปัจจัยเสี่ยง
ลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับและเพิ่มปัจจัยเสริมการหายของแผล
ให้การดูแลช่วยเหลือและคำแนะนำทั่วไป
กำรดูแลและคำแนะนำเรื่องอาหารและโภชนาการ
การดูแลและคำแนะนำเรื่องยาที่ใช้ในการรักษา
การดูแลและคำแนะนะสำหรับผู้ป่วยที่ต้องใช้อุปกรณ์
การดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยที่มีปัญหาการขับถ่ายปัสสาวะหรืออุจจาระ
กระบวนการพยาบาลในการพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล
การประเมินภาวะสุขภาพ (Assessment)
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การปฏิบัติการพยาบาลแบบองค์รวม (Holistic nursing care)
ด้านร่างกาย
ด้านจิตใจ
ด้านสังคม
ด้านจิวิญญาณ
การประเมินผล (Evaluation)
การประเมินผลการพยาบาล เป็นการประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
การประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล เป็นการประเมินผลของการปฏิบัติงาน
เพื่อนำมาปรับปรุงการปฏิบัติงานในครั้งต่อไป
การประเมินผลคุณภาพการบริการ