Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล
ชนิดของแผลและปัจจัย
การส่งเสริมการหายของแผล
ชนิดของแผล (Type of wound)
ชนิดของแผลแบ่งตามสาเหตุ
แผลที่เกิดจากการผ่าตัด เรียก surgical wound , sterile wound หรือ incision wound
แผลที่เกิดจากถูกของมีคมตัด เรียก cut wound
แผลที่เกิดจากถูกของมีคมทิ่มแทง เรียก stab wound หรือ peneturating wound
แผลที่เกิดจากโดนระเบิด เรียก explosive wound
แผลที่เกิดจากถูกบดขยี้ เรียก crush wound
แผลที่เกิดจากการกระแทกด้วยวัตถุลักษณะมน เรียก traumatic wound
แผลที่เกิดจากถูกยิง เรียก gunshot wound
แผลที่มีขอบแผลขาดกะรุ่งกะริ่ง เรียก lacerated wound
แผลที่เกิดจากการถูไถลถลอก เรียก abrasion wound
แผลที่เกิดจากการติดเชื้อมีหนอง เรียก infected wound
แผลที่เกิดจากการตัดอวัยวะบางส่วน เรียก stump wound
แผลที่เกิดจากการกดทับ เรียก pressure sore, bedsore, decubitus ulcer,pressure injury
แผลที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทำงกายภาพและเคมี
แผลที่เกิดจากการปลูกผิวหนัง (skin graft)
ชนิดของแผลแบ่งตามลักษณะพื้นผิว
แผลลักษณะแห้ง (dry wound)
แผลลักษณะเปียกชุ่ม (wet wound)
ชนิดของแผลแบ่งตามลาดับความสะอาด
Class I: Clean wound ประเภทที่ 1 แผลผ่าตัดสะอาด
Class II: Clean-contaminated ประเภทที่ 2 แผลสะอาดกึ่งปนเปื้อน
Class III: Contaminated ประเภทที่ 3 แผลปนเปื้อน
Class IV: Dirty/Infected ประเภทที่ 4 แผลสกปรก/แผลติดเชื้อ
ชนิดของบาดแผลแบ่งตามระยะเวลาการเกิด
แผลที่เกิดเฉียบพลัน (acute wound)
แผลเรื้อรัง (chronic wound)
แผลเนื้อตาย (gangrene wound)
ชนิดของแผลแบ่งตามการรักษา
การรักษาผู้ป่วยศัลยกรรมกระดูกด้วยวิธีการจัดกระดูกให้อยู่นิ่ง (retention)
การรักษาแผลด้วยสุญญากาศ (Negative Pressure Wound Therapy: NPWT)
แผลท่อระบาย
แผลท่อหลอดคอ (tracheostomy tube)
แผลท่อระบายทรวงอก (chest drain)
แผลทวารเทียมหน้าท้อง (colostomy)
ปัจจัยที่มีผลต่อการหายของบาดแผล
ปัจจัยเฉพาะที่ (Local factors)
แรงกด (pressure)
ภาวะแวดล้อมแห้ง (dry environment)
การได้รับอันตรายและอาการบวม (trauma and edema)
การติดเชื้อ (infection)
ภาวะเนื้อตาย (necrosis)
ความไม่สุขสบาย (incontinence)
ปัจจัยระบบ (Systemic factors)
อายุ (age)
โรคเรื้อรัง (chronic disease)
น้ำในร่างกาย (body fluid)
การไหลเวียนของโลหิตบกพร่อง (vascular insufficiencies)
ภาวะกดภูมิคุ้มกันและรังสีรักษา (immunosuppression and radiation therapy)
ภาวะโภชนาการ (nutritional status)
ลักษณะและกระบวนการหายของแผล
ลักษณะการหายของแผล (Type of wound healing)
การหายของแผลแบบปฐมภูมิ (Primary intention healing)
การหายของแผลแบบทุติยภูมิ (Secondary intention healing )
การหายของแผลแบบตติยภูมิ (Tertiary intention healing)
กระบวนการหายของแผล (Stage of wound healing)
ระยะ 1: ห้ามเลือดและอักเสบ (Hemostasis and Inflammatory phase)
ระยะ 2: การสร้างเนื้อเยื่อ (Proliferate phase)
ระยะ 3: การเสริมความแข็งแรง (Remodeling phase)
การบันทึกลักษณะบาดแผล
ชนิดของบาดแผล
ขนาด ควรระบุเป็นเซนติเมตร
สี
ลักษณะผิวหนัง
ตำแหน่ง/บริเวณ
ขั้นหรือระยะความรุนแรงของบาดแผล
สิ่งที่ปกคลุมบาดแผลหรือสารคัดหลั่ง (discharge)
วิธีการเย็บแผล
Continuous method
Interrupted method
Subcuticular method
Retention method (Tension method)
วัสดุที่ใช้ในการเย็บแผล
วัสดุที่ละลายได้เอง (Absorbable sutures)
วัสดุที่ไม่ละลายเอง (Non-absorbable sutures)
วิธีการทำแผลชนิดต่างๆ และการตัดไหม
ชนิดของการทำแผล
การทำแผลแบบแห้ง (Dry dressing)
การทำแผลแบบเปียก (Wet dressing)
การทำแผลผ่าตัดแบบแห้ง (Dry dressing)
เปิดแผลโดยใช้มือ (ใส่ถุงมือ)
เปิดชุดทำแผล (ตามหลักการของ IC)
หยิบ non-tooth forceps
หยิบ tooth forceps
หยิบสำลีชุบ 0.9% NSS เช็ดจากบนลงล่าง
ทำแผลด้วย antiseptic solution
ปิดแผลด้วย gauze
เก็บอุปกรณ์ ถอดถุงมือ ถอด mask และล้างมือ
ทิ้งขยะในถังขยะติดเชื้อทุกครั้ง
การทำแผลผ่าตัดแบบเปียก (Wet dressing)
เปิดแผลโดยใช้มือ (ใส่ถุงมือ) เปิดชุดทำแผลตามหลัก IC
ทำความสะอาดริมขอบแผลเช่นเดียวกับการทำ dry dressing
ใช้สำลีชุบน้ำเกลือหรือน้ำยาตามแผนการรักษาเช็ดภายในแผลจนสะอาด
ใช้ผ้า gauze ชุบน้ำยา (solution) ใส่ในแผล (packing)
ปิดแผลด้วยผ้า gauze
การตัดไหม (Suture removal)
โดยทั่วไปแผลหลังผ่ำตัดจะแห้งสนิทภายใน 7-10 วัน แพทย์จะอนุญาตให้ทำการตัดไหม
วิธีการพันแผลชนิดต่างๆ
ชนิดของผ้าพันแผล
ผ้าสามเหลี่ยม (triangular bandage)
ผ้าพันแผลชนิดม้วน (roller bandage)
ผ้าพันแผลชนิดพิเศษ (special bandage)
การพันผ้าแบบชนิดม้วน
การพันแบบวงกลม (circular turn)
การพันแบบเกลียว (spiral turn)
การพันแบบเกลียวพับกลับ (spiral reverse)
การพันเป็นรูปเลข 8 (figure of eight)
การพันแบบกลับไปกลับมา (recurrent)
ปัจจัยที่ทาให้เกิดแผลกดทับ
ระยะของแผลกดทับและการป้องกันแผลกดทับ
ปัจจัยส่งเสริมการเกิดแผลกดทับ
ปัจจัยภายในร่างกาย
อายุ
ภาวะโภชนาการ
ยาที่ได้รับการรักษา
การผ่าตัด
ปัจจัยภายนอกร่างกาย
แรงกด
แรงเฉือน
แรงเสียดทาน
ความชื้น
การป้องกันการเกิดแผลกดทับ
การประเมินความเสี่ยงตามแบบประเมินความเสี่ยงของการเกิดแผลกดทับ
การเฝ้าระวังความเสี่ยงและควรการประเมินซ้ำเมื่อมีปัจจัยเสี่ยง
ลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับและเพิ่มปัจจัยเสริมการหายของแผล
กระบวนการพยาบาลในการพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล
การประเมินภาวะสุขภาพ (Assessment)
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การปฏิบัติการพยาบาลแบบองค์รวม (Holistic nursing care)
การประเมินผล (Evaluation)
การวางแผนให้การพยาบาล (Planning)