Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Essential Competencies for Midwifery Practice 2018 UPDATE - Coggle Diagram
Essential Competencies for Midwifery Practice 2018 UPDATE
:<3:4. COMPETENCIES SPECIFIC TO THE ONGOING CARE OF WOMEN AND NEWBORNS :
:star:4. การตรวจหาสัญญาณและอาการแทรกซ้อนในหญิงหลังคลอด
:star:3. ส่งเสริมและสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
:star:1. ให้การดูแลหลังคลอดในหญิงที่มีสุขภาพดี เช่น ให้ข้อมูลการดูแลตนเองของมารดา รวมถึงให้
มารดาสามารถตอบสนองต่อความต้องการของทารก
:star:2. ดูแลทารกแรกเกิดให้แข็งแรง เช่น การให้วัคซีนตามช่วงอายุ
:star:6. ให้การวางแผนครอบครัวที่เหมาะสม
:star:5. ประเมินและจัดการปัญหาสุขภาพในทารกแรกเกิดและมีการส่งต่อเมื่อจำเป็น
:<3:3. COMPETENCIES SPECIFIC TO CARE DURING LABOUR AND BIRTH
:red_flag:2.ดูแลให้ได้รับการคลอดอย่างปลอดภัยและป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน
:red_flag: 3.การดูแล/ให้การพยาบาลทารกแรกเกิด
:red_flag:1.ส่งเสริมการคลอดและการคลอดตามธรรมชาติ เช่น ส่งเสริมมารดาให้มีอิสระในการเคลื่อนไหว ให้แสดงพฤติกรรมทางกาย ในการตอบสนองต่อมารดาอย่างเหมาะสม
: :<3:1. GENERAL COMPETENCIES :
:pencil2:8. มีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพระหว่างผู้หญิง ครอบครัว ทีมสุขภาพและชุมชน
:pencil2:7. ช่วยอำนวยความสะดวกให้ผู้หญิงได้เลือกตัดสินใจในการดูแลสุขภาพ
:pencil2:9.มีการส่งเสริมและให้ความสำคัญกับกระบวนการคลอดตามปกติ
:pencil2:10. มีการประเมินคัดกรองความเสี่ยงต่อสุขภาพและส่งเสริมสุขภาพของมารดาและทารก
:pencil2:11. ป้องกันและจัดการปัญหาสุขภาพในสตรีและเด็ก
:pencil2:12. มีการรับรู้ถึงภาวะแทรกซ้อนและให้การส่งต่อรักษาที่เหมาะสม
:pencil2:13. ช่วยดูแลผู้หญิงที่ประสบกับความรุนแรงทางร่างกายและทางเพศ รวมถึงการล่วงละเมิดทางเพศ
:pencil2:6. ปฏิบัติตามกฎหมายข้อกำหนดด้านกฎระเบียบและจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์
:pencil2: 5.รักษาสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานของผู้รับบริการ
:pencil2: 4 มอบหมายการดูแล และให้การดูแลอย่างเหมาะสม
:pencil2: 3. มีมาตรการการดูแลและการให้ดูแลอย่างเหมาะสม
:pencil2: 2. การรับผิดชอบในการดูแลตนเองและพัฒนาตนเองในฐานะพยาบาลผดุงครรภ์
:pencil2: 1.การรับผิดชอบต่อการตัดสินใจและการกระทำของตนเอง
:<3:2. COMPETENCIES
SPECIFIC TO PREPREGNANCY AND ANTENATAL CARE
:warning:6.ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ การเลี้ยงบุตร การให้นมบุตร การเปลี่ยนแปลงในครอบครัว
:warning: 5. ส่งเสริมและสนับสนุนพฤติกรรมสุขภาพ เช่น การให้คำแนะนำและระบุแหล่งที่สามารถเข้าถึงข้อมูลสุขภาพได้
:warning:7.มีศักยภาพในการจัดการและส่งต่อสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะแทรกซ้อน
:warning:4. ติดตามความก้าวหน้าในการตั้งครรภ์
:warning:8.ให้ข้อมูลกับสตรีตั้งครรภ์และครอบครัวในการกำหนดสถานที่คลอดที่เหมาะสม
:warning: 3. ประเมินทารกในครรภ์ เช่น ประเมินอัตราการเต้นของหัวใจ การประเมินการเคลื่อนไหวของ
ทารกในครรภ์ (ลูกดิ้น)
:warning:9.การดูแลสตรีตั้งครรภ์ในกรณีตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์
:warning: 2. ช่วยกำหนดภาวะสุขภาพของผู้หญิง เช่น การประเมินอายุครรภ์จาการตรวจร่างกายและซักประวัติ
:warning:1.ให้การดูแลก่อนตั้งครรภ์ เช่นการคัดกรองปัญหาสุขภาพ การประเมินภาวะโภชนาการ
การให้คำปรึกษาในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางสุขภาพ