Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล
ชนิดของแผลและปัจจัยการส่งเสริมการหายของแผล
ชนิดของแผล
แบ่งตามสาเหตุ
แผลที่เกิดจากการผ่าตัด เรียก surgical wound , sterile wound หรือ incision wound
แผลที่เกิดจกาถูกของมีคมตัด เรียก cut wound เช่น แผลจกาโดนมีดฟัน หรือ ถูกเศษแก้วบาด
แผลที่เกิดจากถูกของมีคมทิ่มแทง เรียก stab wound หรือ peneturating wound
แผลที่เกิดจากโดนระเบิด เรียก explosive wound
แผลที่เกิดจากถูกบดขยี้เรียกcrushwound
แผลที่เกิดจากการกระแทกด้วยวัตถุลักษณะมนเรียกtraumaticwound
แผลที่เกิดจากถูกยิง เรียก gunshot wound
แผลที่มีขอบแผลขรดกะรุ่งกะริ่ง เรียก lacerated wound
แผลที่เกิดจากการถูไถลถลอก เรียก abrasion wound
แผลที่เกิดจากการติดเชื้อมีหนอง เรียก infected wound
แผลที่เกิดจรกการตัดอวัยวะบางส่วน เรียก stump wound
แผลที่เกิดจากการกดทับ เรียก pressure sore, bedsore, decubitus ulcer,pressure injury
แผลที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและเคมี
จากไฟไหม้ น้ําร้อนลวก
จากสารเคมีที่เป็นด่าง
จากสารเคมีที่เป็นกรด
จากถูกควรมเย็นจัด
จากไฟฟ้าช็อต
จากรังสี
แผลที่เกิดจากการปลูกผิวหนัง
แบ่งตามลักษณะ
แผลลักษณะแห้ง
ลักษณะของแผลมีขอบแผลติดกัน
จากเกิดกราติดกันเอง หรือจากการเย็บด้วยวัสดุเย็บแผล
ไม่มีสารคัดหลั่ง
แผลผ่าตัดเย็บปิด
แผลลักษณะเปียกชุ่ม
ลักษณะของขอบแผลไม่ ติดกัน
ขอบแผลกว้าง
มีสารคัดหลั่ง
แผลผ่าตัดยังไม่เย็บปิด
แบ่งตามลำดับความสะอาด
Class I: Clean wound แผลผ่าตัดสะอาด
เป็นแผลที่ไม่มีการติดเชื้อ
ไม่มีการอักเสบมาก่อน
การผ่าตัดไม่ผ่านระบบทางเดินหายใจ ระบบทางเดินอาหาร
ไม่มีการแทงทะลุหรือฉีกขาด
Class II: Clean-contaminated แผลสะอาดกึ่งปนเปื้อน
แผลที่มีการผ่าตัดผ่านระบบทางเดินทางเดินหายใจ
เป็นการผ่าตัดที่เกี่ยวกับท่อน้ำดี
Class III: Contaminated แผลปนเปื้อน
แผลเปิด
แผลสด
แผลจากการได้รับอุบัติเหตุแผลที่เกิด การปนเปื้อนสารคัดหลั่งจากระบบทางเดินอาหาร
เป็นแผลที่มีการอักเสบเฉียบพลัน
Class IV: Dirty/Infected แผลสกปรก/แผลติดเชื้อ
แผลเก่า
แผลมีเนื้อตาย
แผลมีการติดเชื้อ
แบ่งตามระยะเวลาการเกิด
แผลที่เกิดเฉียบพลัน
รักษาให้หายใน ระยะเวลาอันสั้น
การหายของแผลเป็นไปตามขั้นตอนการหายของบาดแผล
แผลเรื้อรัง
แผลที่เกิดขึ้นเป็นระยะเวลานาน
รักษายาก หรือรักษาเป็นเวลานาน
แผลเนื้อตาย
แผลที่เกิดจากการขาดเลี้ยงไปเลี้ยง
เลือดมาเลี้ยงไม่เพียงพอ
แบ่งตามการรักษา
การรักษาผู้ป่วยศัลยกรรมกระดูกด้วยวิธีการจัดกระดูกให้อยู่นิ่ง
การรักษาแผลด้วยสุญญากาศ
ลดการบวมของแผลและเนื้อเยื่อใกล้เคียงทันทีที่เปิดเครื่องดูดสุญญากาศ
เพิ่มปริมาณเลือดมาสู่แผล
กระตุ้นการงอกใหม่ของเซลล์
ลดแบคทีเรียในแผล
แผลท่อระบาย
แผลท่อหลอดคอ
แผลท่อระบายทรวงอก
แผลทวารเทียมหน้าท้อง
ปัจจัยที่มีผลต่อการหายของบาดแผล
ปัจจัยเฉพาะที่
แรงกด
ภาวะแวดล้อมแห้ง
การได้รับอันตรายและอาการรบวม
การติดเชื้อ
ภาวะเนื้อตาย
slough ลักษณะเปียก
eschar มีลักษณะหนา
ความไม่สุขสบาย
ปัจจัยระบบ
อายุ
โรคเรื้อรัง
น้ําในร่างกาย
การไหลเวียนของโลหิตบกพร่อง
ภาวะกดภูมิคุ้มกันและรังสีรักษา
ภาวะโภชนาการ
ลักษณะและกระบวนการหายของแผล
ลักษณะการหายของแผล
ปฐมภูมิ
ผิวหนังมีการสูญเสียเนื้อเยื่อเพียงเล็กน้อย
เป็นแผลที่สะอาด
ทุติยภูมิ
แผลขนาดใหญ่ที่เนื้อเยื่อถูกทำลาย
สูญเสียเนื้อเยื่อบางส่วน
ขอบแผลมีขนาดกว้างเย็บแผลไม่ได้
ตติยภูมิ
แผลชนิดเดียวกับแผลทุติยภูมิ
ทําการรักษาโดยการทำแผลจนมีเนื้อเยื่อเกิดใหม่ปกคลุมสีแดงสด
ไม่มีอาการ การแสดงภาวะติดเชื้อแล้ว
กระบวนการหายของแผล
ระยะ 1: ห้ามเลือดและอักเสบ
เกิดขึ้นก่อนในเวลา 5-10 นาที
เซลล์ที่มีความสําคัญ
platelets
neutrophils
macrophages
macrophage
การแบ่งตัวของเซลล์
การเคลื่อนที่ของเซลล์เข้ามาในบาดแผล
การสร้าง matrix
ระยะ 2: การสร้างเนื้อเยื่อ
เริ่มตั้งแต่วันที่ 4-12 วัน
macrophage ทำหน้าที่สร้างgrowth factor
กระบวนการออกซิเดชั่นของกรดอะมิโน
proline
lysine
เกิด fibrotic มากเกินไป
รอยแผลเป็นนูน
ผิวหนังแข็ง
ระยะ 3: การเสริมความแข็งแรง
ระยะสุดท้ายของการสร้าง และความสมบูรณ์ของคอลลาเจน
ระยะนี้จะใช้เวลาหลังการผ่าตัด 20 วัน แล้วจะเพิ่มความแข็งแรงของผิวหนังเป็นปกติ
จะใช้เวลาอีก 60-180 วัน หรือ 2 ปี
ระยะที่บาดแผลเริ่มมีความแข็งแรงมาก
แผลเริ่มเล็กลงและแข็งแรงมาก
การบันทึกลักษณะบาดแผล
ชนิดของบาดแผล
ตําแหน่ง/บริเวณ
ขนาด ควรระบุเป็นเซนติเมตร
สี
ลักษณะผิวหนัง
ขั้นหรือระยะความรุนแรงของบรดแผล
สิ่งที่ปกคลุมบาดแผลหรือสารคัดหลั่ง
วิธีการเย็บแผลและวัสดุที่ใช้ในการเย็บแผล
ห้ามเลือด
ดึงขอบแผลเข้าหากัน
ส่งเสริมการหายของแผล
ป้องกันมิให้เชื้อโรคเข้าไปในแผล
รักษาสภาพปกติของผิวหนัง
วิธีการเย็บแผล
Continuous methodเป็นการเย็บแผลแบบต่อเนื่องตลอดความยาวของแผล
Interrupted method วิธีการเย็บแผลที่ต้องตัดวัสดุเย็บแผลในทุกฝีเข็ม
Simple interrupted method วิธีการเย็บแผลเพื่อดึงรั้งให้ขอบแผลทั้งสองติดกัน
Interrupted mattress method วิธีการเย็บแผลโดยการตักเข็มเย็บที่ ขอบแผลสองครั้ง
Subcuticular method
เป็นการเย็บแผลแบบ continuous method แต่ใช้เข็มตรง ในการเย็บ และซ่อนวัสดุเย็บแผลไว้ในชั้นใต้ผิวหนัง
Retention method
วิธีการเย็บรั้งแผลเข้าหากัน
วัสดุท่ีใช้ในการเย็บแผล
วัสดุท่ีละลายได้เอง
เส้นใยธรรมชาติ
เส้นใยสังเคราะห์
วัสดุที่ไม่ละลายเอง
เส้นใยตามธรรมชาติ
เส้นใยสังเคราะห์
วัสดุท่ีเย็บเป็นโลหะ
วิธีการทำแผลชนิดต่างๆ และการตัดไหม
วัตถุประสงค์
ให้สภาวะที่ดีเหมาะแก่การงอกของเน้ือเยื่อ
ดูดซึมสารคัดหลั่ง
จํากัดการเคลื่อนไหวของแผลให้อยู่นิ่ง
ให้ความชุ่มชื้นกับพื้นผิวของแผลอยู่เสมอ
ป้องกันไม่ให้ผ้าปิดแผลติดและดึงรั้งเนื้อเยื่อท่ีงอกใหม่
ป้องกันแผลหรือเน้ือเยื่อที่เกิดใหม่จากสิ่งกระทบกระเทือน
ป้องกันแผลปนเปื้อนเชื้อโรคจากอุจจาระปัสสาวะสิ่งสกปรกอื่น ๆ
เป็นการห้ามเลือด
ช่วยให้ผู้ป่วยรู้สึกสุขสบาย
ชนิดของการทำแผล
การทำแผลแบบแห้ง
การทําแผลท่ีไม่ต้องใช้ความชุ่มชื้น
ใช้ทําแผลสะอาด
แผลที่ไม่อักเสบเป็นแผลเล็กไม่มีสารคัดหลั่งมาก
การทำแผลแบบเปียก
การทําแผลท่ีต้องใช้ความ ชุ่มชื้นในการหายของแผล
ใช้ทําแผลเปิด
แผลอักเสบติดเชื้อ
แผลท่ีมีสารคัดหลั่งมาก
อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำแผล
อุปกรณ์ทำความสะอาดแผล
ชุดทำแผล
ปากคีบไม่มีเขี้ยว
ปากคีบมีเขี้ยว
ถ้วยใส่สารละลาย
สําลี
สารละลาย
แอลกอฮอล์
น้ําเกลือล้างแผล
เบตาดีน หรือโปรวิโดน ไอโอดีน
วัสดุสำหรับปิดแผล
ผ้าก๊อซ
ผ้าก๊อซหุ้มสําลี
ผ้าซับเลือด
วายก๊อซ
วาสลินก๊อซ
ก๊อซเดรน
transparent film
แผ่นเทปผ้าปิดแผล
antibacterial gauze dressing
วัสดุสำหรับยึดติดผ้าปิดแผล
วัสดุที่ใช้ คือ plaster ชนิดธรรมดา
ใช้ก๊อซพันแผล
ผ้าพันแผลชนิดยืด
อุปกรณ์อื่นๆ
กรรไกรตัดไหม
กรรไกรตัดเชื้อเน้ือ
ช้อนขูดเน้ือตําย
อุปกรณ์วัดความลึกของแผล
ภาชนะสำหรับทิ้งส่ิงสกปรก
ชามรูปไต
ถุงพลาสติก
การทำแผลผ่าตัดแบบแห้ง
เปิดแผลโดยใช้มือ
เปิดชุดทําแผล
หยิบnon-toothforcepsใช้คีบส่งของsterileทําหน้าที่เป็นtransferforceps
หยิบ tooth forceps ใช้รับของ sterile ทําหน้าที่เป็น dressing forceps
หยิบสําลีชุบ alcohol 70% เช็ดรอบๆ แผลวนจากในออกนอกห่างแผล 1 นิ้วเป็นบริเวณกว้าง 2 นิ้ว
หยิบสําลีชุบ0.9%NSSเช็ดจากบนลงล่างจนแผลสะอาดแล้วเช็ดด้วยสําลีแห้ง
ทําแผลด้วย antiseptic solution ตามแผนการรักษา
ปิดแผลด้วยgauzeติดพลาสเตอร์ตามแนวขวางของลําตัว
เก็บอุปกรณ์ถอดถุงมือถอดmaskและล้างมือทิ้งขยะในถังขยะติดเชื้อทุกครั้ง
การทำแผลผ่าตัดแบบเปียก
เปิดแผลโดยใช้มือ
ทําความสะอาดริมขอบแผลเช่นเดียวกับการทํา dry dressing
ใช้สําลีชุบน้ําเกลือหรือน้ํายาตามแผนการรักษาเช็ดภายในแผลจนสะอาด
ใช้ผ้า gauze ชุบน้ํายา (solution) ใส่ในแผล (packing) เพื่อฆ่าเชื้อและดูดซับสารคัดหลั่งให้ความชุ่มชื้นแก่เนื้อเยื่อ
ปิดแผลด้วยผ้า gauze และปิดพลาสเตอร์ตามแนวขวางของลําตัว
การทำแผลผ่าตัดท่ีมีท่อระบาย
การเตรียมเครื่องใช้ในการทำแผล
ใช้non-toothforceps หยิบสําลีชุบalcohol 70% ส่งต่อให้ tooth forceps เช็ดผิวหนังรอบท่อระบายวนจากในออกนอกแบบครึ่งวงกลม
ใช้สําลีชุบNSSเช็ดตรงกลางแผลท่อระบายแล้วเช็ดด้วยสําลีแห้ง
ใช้สําลีชุบ alcohol 70% เช็ดท่อระบายจากเหนือแผลออกมาด้านปลายท่อระบาย เช็ดด้วยสําลีแห้ง
กรณี Penrose drain และแพทย์มีแผนการรักษาให้ตัดท่อยางให้สั้น
หยิบ gauze 1 ผืน เพื่อจับเข็มกลัดซ่อนปลาย
ใช้ forceps บีบเข็มกลัดให้อ้าออก
ใช้มืออีกข้างถือ forceps จับท่อระบายดึงท่อระบายออกมา 1 นิ้ว
แทงเข็มกลัดเข้ากับท่อระบาย กลัดเข็มกลัดเข้าที่
ตัดท่อระบายส่วนท่ีอยู่เหนือเข็มกลัดซ่อนปลาย
ทิ้งท่อระบายท่ีตัดออกลงชามรูปไตหรือถุงพลาสติก
ใช้สําลีเช็ดผิวหนังรอบๆ ท่อระบายและท่อระบาย อีกคร้ัง
พับครึ่งผ้าgauzeวางสองข้างของท่อระบายแล้ววางผ้าgauzeปิดทับท่อระบาย
หลังการทําแผลเสร็จแล้วจัดท่าให้ผู้ป่วยสุขสบาย และดูแลสภาพแวดล้อม
ระวังไม่ให้แผลถูกน้ํา หรือเปียกชื้น หากแผลชุ่มมากควรแจ้งเจ้าหน้าที่พยาบาล
รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่และน้ํา วันละ 2,000 มิลิลิตร
หากเกิดอาการคันหรือแพ้พลาสเตอร์ ควรแจ้งให้พยาบาล ไม่ควรแคะ แกะ
การตัดไหม
หลักการตัดไหม
ตรวจสอบคําส่ังการรักษาของแพทย์ทุกคร้ัง
เศษไหมที่เย็บแผลส่วนท่ีมองเห็นเป็นส่วนท่ีมีการสัมผัสเชื้อแบคทีเรียท่ีอาศัยอยู่ ตามผิวหนังในการตัดและดึงไหมออกจึงไม่ควรดึงไหมส่วนท่ีมองเห็นลอดผ่านใต้ผิวหนัง
ขณะตัดไหมหากพบว่ามีขอบแผลแยกให้หยุดทํา
วิธีทำการตัดไหม
ทําความสะอาดแผล ใช้ alcohol 70% เช็ดรอบแผล
การตัดไหมที่เย็บแผลชนิด interrupted method โดยใช้ไหมผูกเป็นปมแยก
การตัดไหมท่ีเย็บแผล ชนิด interrupted mattress โดยใช้ไหมผูกปมเป็นอัน ๆ ชนิดสองช้ัน
การตัดไหมที่เย็บแผลแบบต่อเนื่อง continuous method ให้ตัดไหมส่วนท่ีอยู่ ชิดผิวหนังด้านตรงกันข้ามกับปมท่ีผูกอันแรกและอันถัดไปด้านเดิม
กรณีที่ใช้ลวดเย็บเป็นวัสดุเย็บแผล ทําความสะอาดแผลผ่าตัดตามปกติ การตัดลวด เย็บแผลต้องใช้เครื่องมือตัด เรียกว่า “removal staple”
ภายหลังตัดไหมครบทุกเส้นแล้วเช็ดแผลด้วยnormalsaline0.9%และเช็ดให้ แห้งอีกคร้ัง ปิดแผลต่อไว้อีก 1 วัน
วิธีการพันแผลชนิดต่างๆ
วัตถุประสงค์
ป้องกันการติดเชื้อ
ใช้เป็นแรงกดป้องกันเลือดไหล
ช่วยพยุงผ้าปิดแผลให้อยู่กับท่ี
ให้ความอบอุ่นบริเวณน้ันๆ
ช่วยให้อวัยวะอยู่คงที่และพยุงอวัยวะไว้
รักษารูปร่างของอวัยวะให้พร้อมท่ีจะใส่อวัยวะเทียม
ชนิดของผ้าพันแผล
ผ้าสามเหลี่ยม
ผ้าพันแผลชนิดม้วน
ผ้าพันแผลชนิดพิเศษ
หลักการพันแผล
ผู้พันผ้าและผู้บาดเจ็บหันหน้ําเข้าหากัน
ตําแหน่งท่ีต้องการจะพันผ้าผิวหนังบริเวณน้ันต้องสะอาดและแห้ง
การลงน้ําหนักมือเพื่อดึงผ้าพันแผลควรระวังใช้น้ําหนักให้เหมาะสม
ต้องทําความสะอาดบาดแผลและปิดผ้าปิดแผลให้เรียบร้อยก่อน
ตําแหน่งที่บาดเจ็บ
การพันผ้าบริเวณเท้า ขา ตะโพกต้องมีผู้ช่วยคอยประคองอวัยวะส่วนน้ันไว้
การพันผ้าใกล้ข้อต้องพันผ้าโดยคํานึงถึงการขยับเคลื่อนไหวของข้อน้ันด้วย
การพันผ้าแบบชนิดม้วน
การพันแบบวงกลม
การพันแบบเกลียว
การพันแบบเกลียวพับกลับ
การพันเป็นรูปเลข 8
การพันแบบกลับไปกลับมา
ปัจจัยท่ีทำให้เกิดแผลกดทับ
ปัจจัยส่งเสริมการเกิดแผลกดทับ
ปัจจัยภายในร่างกาย
อายุ
ภาวะโภชนาการ
ยาที่ได้รับการรักษา
ปัจจัยภายนอกร่างกาย
แรงกด
แรงเสียดทาน
แรงเฉือน
ความชื้น
ระยะของแผลกดทับ
ระดับท่ี 1 ผิวหนังแดงไม่มีการฉีกขาดของผิวหนังและไม่จางหายไปภายใน 30 นาที
ระดับท่ี 2 ผิวหนังแดงเร่ิมมีแผลเล็กๆ มีหนังแท้ถูกทําลายฉีกขาดเป็นแผลตื้น มีรอยแดงบริเวณเน้ือเยื่อรอบๆ และเริ่มมีสารคัดหลั่งจากแผล
ระดับท่ี 3 แผลลึกถึงชั้นไขมัน แต่ยังไม่ถึงช้ันกล้ามเนื้อ มีรอยแผลลึก มีส่ิงขับหลั่งจากแผล เร่ิมมีกลิ่นเหม็นยังไม่มีเน้ือตาย
ระดับที่ 4 แผลลึกเป็นโพรงถึงกล้ามเนื้อ กระดูก และเยื่อหุ้มข้อ พบมีเน้ือตาย