Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เยื่อบุหัวใจอักเสบจากการติดเชื้อ (Infective edocarditis) - Coggle Diagram
เยื่อบุหัวใจอักเสบจากการติดเชื้อ
(Infective edocarditis)
สาเหตุ
เด็กที่มีอายุมากกว่า 1ปี alpha-hemolytic streptococus หรือ staphylococcus aureus ซึ่งเชื้อสามารถอาศัยอยู่ในไฟบริน(fibrin)
ซึ่งจะป้องกันการทำลายเชื้อจากเม็ดเลือดและยาปฏิชีวนะ
ทำให้เกิดการอักเสบซึ่งเกิดจากการติดเชื้อของ เยื่อหุ้มหัวใจชั้นในสุด
เยื่อหุมผิวกายในหัวใจ
ลิ้นหัวใจ
เนื้อเยื่อข้างเคียง
หลอดหลอดเลือดแดงหัวใจ
เกิคจากการติดเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา ริคเกทเชีย (rickettsia) ไวรัส
พยาธิสภาพ
non bacterial thrombotic vegetation (NBTV)
การไหลเวียนเลือดที่ผิดปกติจากความแตกต่างของความดันที่ผิดปกติของหัวใจ ทำให้มีเลือดชนเยื้อหุ้มหัวใจ ส่งผลให้เยื่อบุหัวใจถูกทำลาย ส่งผลให้เกิดการหดตัวของไฟบริน(fibrin)และเกร็ดเลือดลดลง
เกิดการติดเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา ริคเกทเชีย (rickettsia) ไวรัส
การที่มีการติดเชื้อในกระแสเลือดเกิดขึ้นในร่างกาย เชื้อจะไปจับกับก้อนที่ก้อนเลือดเล็กๆตามผนังหัวใจก้อนติดเชื้อ(vegetation) ทำให้เกิดการทำลายลิ้นและผนังหัวใจโดยตรง อาจเกิดภาวะหัวใจรั่วและ ภาวะหัวใจวาย
อาการและอาการแสดง
(Signs and symptoms)
อ่อนเพลีย
เบื่ออาหารน้ำหนักลด
มีไข้เป็นเวลานาน
มีเสียงหัวใจผิดปกติ(murmur)
การรักษา
หลังการรักษา
ผู้ป่วยอาจจำเป็นต้องจำกัดน้ำดื่มในแต่ละวัน
ใช้ยารักษาภาวะหัวใจวายเรื้อรัง
ลิ้นหัวใจถูกทำลายไปมากต้องเข้ารับการผ่าตัดแก้ไขในภายหลังคู่มืออาหารเสริม ฉบับสมบูรณ์
ประเภทของการรักษา
ยาปฏิชีวนะขนาดสูงฉีดนาน 4-6 สัปดาห์
การผ่าตัดช่วยในระยะเฉียบพลัน
การวินิจฉัย
การวินิจฉัยโรค
การตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง (Echocardiogram: ECHO)
การทำทีทีอี (Transthoracic Echocardiogram: TTE): เป็นการตรวจเอคโค่ชนิดพิเศษ จะวางอุปกรณ์บนผิวหนังใกล้กับกระดูกหน้าอก, บนหน้าท้องส่วนบน หรือใกล้หัวนม อุปกรณ์เหล่านี้จะส่งสัญญาณไปยังเครื่องตรวจ เพื่อแปลงสัญญาณให้กลายเป็นภาพของหัวใจก่อนที่แพทย์จะแปลผลการตรวจ ดังกล่าวเพื่อวินิจฉัยโรคต่อไป (การตรวจประเภทนี้จะใช้เวลาประมาณ 30นาที)
การทำทีอีอี (Transesophageal Echocardiogram: TEE): การตรวจเอคโค่ผ่านการส่องกล้องทางหลอดอาหาร แพทย์จะให้ผู้ป่วยอม และพ่นยาชาในลำคอ จากนั้นจะให้ผู้ป่วยกลืนหัวตรวจ ซึ่งเป็นกล้องส่องผ่านทางปากเข้าไป เพื่อให้แพทย์ได้บันทึกภาพหัวใจจากด้านในทางเดินอาหารของผู้ป่วย
การตรวจเลือด (Blood Test)
การตรวจเลือดเพื่อดูชนิดของเชื้อแบคทีเรีย หรือเชื้อโรคที่เข้าสู่กระแสเลือด
การวินิจฉัยแยกโรค
ลิ้นหัวใจพิการหรือมีลิ้นหัวใจเทียม
มีการใส่เครื่องมือทางการแพทย์ เช่น เครื่องกระตุ้นไฟฟ้าหัวใจ (Pacemaker)
โรคหัวใจพิการแต่กำเนิดบางประเภท
เพิ่งเข้ารับการผ่าตัดหรือทำหัตถการเกี่ยวกับหัวใจมาก่อน
ความหมาย
คือ การเกาะตัวของเกล็ดเลือด (platelet aggregation) และไฟบริน (fibrin deposition) ที่พื้นผิวเยื่อบุหัวใจซึ่งโดยส่วนใหญ่มีพยาธิสภาพอยู่เดิมทำใหเกิดเป็นลิ่มเลือด (thrombus formation) บริเวณนั้นได้ง่ายเมื่อมีเชื้อโรคโดยเฉพาะเชื้อแบคทีเรียในกระแสโลหิต (bacterania)
ผลกระทบต่อร่างกาย
โรคติดเชื้อเยื่อบุหัวใจ นำไปสู่อุบัติการณ์ของความพิการและเสียชีวิต
ในผู้ป่วยที่มีการไหลเวียนของเลือดผิดปกติ เช่นมีลิ้นหัวใจรั่วหรือผนังกั้นหัวใจรั่วจะก่อให้เกิดภัยอันตรายต่อเยื่อบุหัวใจ
ทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนได้
เกิดการอุดตันหลอดเลือดต่างๆได้ทั่วร่างกายส่งผลให้อวัยวะที่มีหลอดเลือดอุดตันเกิดการทำงานผิดปกติจะขาดเลือดซึ่งถ้าเกิดกับอวัยวะสำคัญจะเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดความพิการหรือเสียชีวิต