Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
• ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบทางเดินหายใจ ( Respiratory drugs ) - Coggle Diagram
• ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบทางเดินหายใจ
( Respiratory drugs )
โรคที่เกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ
โรคหืด (Asthma )
โรคหืด หรือที่คนทั่วไปเรียกว่า โรคหอบหืด
คือ โรคที่เกิดจากการหดตัวหรือตีบแคบของระบบทางเดินหายใจเป็น
ครั้งคราว ทำให้ผู้ป่วยมีอาการหายใจหอบเหนื่อย เป็นๆ หายๆ เรื้อรัง
สาเหตุอาจเกิดจากหลายปัจจัย เช่น กรรมพันธุ์ ระบบภูมิคุ้มกันของ
ร่างกาย การติดเชื้อ สิ่งแวดล้อม
ทำให้เกิดอาการอักเสบเรื้อรังของหลอดลม ทำให้หลอดลมมีความไวต่อ สิ่งเร้าต่างๆได้มากกว่าคนปกติ ทำให้เกิดการหดเกร็งของกล้ามเนื้อ หลอดลม
ยาที่ใช้ในการรักษาหอบหืด
1.ยาขยายหลอดลม (Bronchodilators)
1.1 ยากลุ่มกระตุ้นตัวรับชนิดเบต้า-2 (beta-2 agonists)
1.2 ยากลุ่มเมทิลแซนธีน (Methylxanthines)
1.3 ยากลุ่มที่มีฤทธิ์ต้านโคลิเนอร์จิก
(Anticholinergic drugs or Muscarinic antagonists)
ยาต้านการอักเสบ
(Anti-inflammatory drugs)
2.1 ยากลุ่มคอร์ติโคสเตียรอยด์(Corticosteroids)
2.2 ยากลุ่มยับยั้งการหลั่งสารสื่อจากเซลล์ที่เกี่ยวข้องกับ
กระบวนการอักเสบ
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ( COPD)
Chronic obstructive pulmonary disease
คือโรคที่เกิดจากความผิดปกติของปอด ซึ่งเป็นกลุ่มหนึ่งของโรคปอด อักเสบเรื้อรัง ซึ่งเกิดจากการที่ปอดได้รับความเสียหายจนก่อให้เกิด ปัญหาทางด้านการหายใจ
อาการไอ
ไอแบบไม่มีเสมหะ (dry or nonproductive cough)
การไอแบบมีเสมหะ (productive cough)
ยาแก้ไอจึงแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม
1 ยาระงับไอ หรือยากดการไอ (Anti-tussives or Cough Suppressants)
1.1 ยาระงับไอชนิดเสพติด (Narcotic Antitussives)
1.2 ยาระงับไอชนิดไม่เสพติด (Non-narcotic Antitussives)
ยาละลายเสมหะ (Mucolytics)
ยาขับเสมหะ (Expectorants)
Nasal Decongestants ยาแก้คัดจมูก
Topical administration
Oral administration
Adverse effects
Adverse effects (Cont’d)
Nursing alerts
Nursing alerts (Cont’d)
Intranasal Corticosteroids
ยาแก้แพ้หรือยาต้านฮิสตามิน
โรคภูมิแพ้
โรคภูมิแพ้มีหลายประเภทขึ้นอยู่กับว่ากระบวนการแพ้ไปเกิดที่อวัยวะ
ส่วนไหน
ถ้าเกิดที่จมูก จะทำให้มีอาการน้ำมูกไหล จาม คัดแน่นจมูก เป็นหวัด
ภูมิแพ้
ถ้าเกิดที่เนื้อปอด ถุงลม หลอดลม จะทำให้หลอดลมหดเกร็ง มีอาการหอบ
เป็นโรคหืด
ถ้าเกิดที่ผิวหนังจะมี ผื่นขึ้น คัน เป็นลมพิษ
ถ้าเกิดที่เยื่อบุตา จะทำให้มีอาการ คันตา เคืองตา น้ำตาไหล ตาแดง ที่
เรียกว่า เยื่อบุตาอักเสบจากการแพ้
ประเภทของยาแก้แพ้หรือ ยาแอนติฮิสตามีน
เราแบ่งยาแก้แพ้ออกได้เป็น 2 กลุ่ม
กลุ่มที่ 1 ยา แอนติฮิสตามีน กลุ่มง่วง
ผ่านเข้าออกสมองได้ดี จึงสามารถจับกับตัวรับฮิสตามีนในสมองได้ มีผลกดระบบ
ประสาท ทำให้เกิดอาการ ง่วงซึม ไม่สดชื่น การตอบสนองต่อสิ่งเร้าต่างๆช้าลง
อาการข้างเคียงของแอนติฮิสตามีน
กลุ่มที่ 2 ยาแอนติฮิสตามีน กลุ่มไม่ง่วง
ยาไม่ผ่านเข้าสมองจึงไม่กดระบบประสาท ทำให้ไม่ค่อยมีผลง่วงซึม
อาการข้างเคียงของแอนติฮิสตามีน
ทำให้ง่วงซึม แอนติฮิสตามีนโดยส่วนใหญ่มักมีฤทธิ์กดระบบประสาท ทำให้เกิดอาการง่วงซึม จนถึงหลับได้ โดยเฉพาะยารุ่นเก่าๆ อย่างไรก็ตาม แม้ว่า ยารุ่นใหม่จะผ่านเข้าสู่สมองน้อยและไม่ ค่อยพบฤทธิ์ง่วงซึม แต่ก็ยังพบว่า ผู้ใช้ยาหลายรายรับประทานแล้วก็ยังมีอาการง่วงซึมอยู่ โดยเฉพาะ “ยา Cetirizine” ซึ่งพัฒนาโครงสร้างมาจากไฮดรอกไซซีนที่เป็นแอนติฮิสตามีนที่มี ฤทธิ์ง่วงมาก
ผู้ป่วยที่ใช้ยาแอนติฮิสตามีนทุกคน ถึงแม้จะใช้ยากลุ่มไม่ง่วง ให้ระมัดระวังในขณะ ที่ใช้ยา ถ้าต้องขับรถ ทำงานกับเครื่องจักร หรือทำงานกับสิ่งที่ต้องใช้สมาธิสูง เพราะดังกล่าวแล้วว่า บาง คนกินยากลุ่มไม่ง่วง แต่ก็มีอาการง่วงได้
ยาที่มีผลต่อระบบภูมิคุ้มกันโรค
( Immunomodulation drugs )
Generations
Lenalidomide
Thalidomide
Apremilast
ยากดภูมิคุ้มกัน (Immunosuppressants)
โรค Auto immune
เพร็ดนิโซโลน (Prednisolone)
ผลข้างเคียงเหล่านี้เช่น อ้วน น้ำหนักเพิ่ม ความอยากอาหารเพิ่มขึ้น บวมหน้ากลม เป็นสิว ผิวแตกลาย
ระคายกระเพาะอาหารและอาจทำให้เกิดแผลในกระเพาะอาหารได้
กระดูกบาง หากใช้ยาต่อเนื่องเป็นเวลานาน
ระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้นได้ในบางรายและทำให้การควบคุมน้ำตาลยาก
เมโธเทรกเซท (Methotrexate)
รับประทานยาตามแพทย์สั่งอย่างเคร่งครัด โดยปกติแพทย์จะสั่งให้รับประทาน ยาสัปดาห์ละ 1 ครั้ง เท่านั้น การรับประทานยาทุกวันจะเป็นการได้รับยาเกิน ขนาด เป็นพิษต่อตับ
ห้ามดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ เนื่องจากทำให้เพิ่มพิษต่อตับได้
หากมีอาการผิดปกติ เช่น แผลเจ็บในปาก ท้องเสีย มีผื่นขึ้น ให้หยุดยาทันที
ไซโคลสปอริน (Cyclosporin)
ยาไซโคลสปอรินนำมาใช้กดภูมิคุ้มกันฯในการปลูกถ่ายอวัยวะ เพื่อป้องกัน
การปฏิเสธสิ่งปลูกถ่ายในผู้ป่วยปลูกถ่ายอวัยวะ
ห้ามรับประมานยากับผลไม้ Grapefruit
ผลข้างเคียงที่สำคัญ ได้แก่ ความดันโลหิตสูง และเป็นพิษต่อไต จึงควรใช้
ยาและติดตามการรักษากับแพทย์อย่างเคร่งครัด
เอซาไธโอพรีน (Azathioprine)
Azathioprine เป็นยา immunosuppressants มีฤทธิ์กดการท างานของภูมิคุ้มกัน มีข้อบ่งใช้ร่วมกับยาอื่นเมื่อมีการเปลี่ยนถ่ายอวัยวะเพื่อป้องกันการปฏิเสธการเข้ากัน ได้ของเนื้อเยื่อ ใช้บรรเทาอาการในผู้ป่วยโรคข้ออักเสบรูมาตอย
เป็นยาที่ใช้ในการรักษาโรคตุ่มน้ำพอง โรคเอสแอลอ
ไซโคลฟอสฟาไมด์(Cyclophosphamild)
ยาซัยโคลฟอสฟาไมด์เป็นยาที่อยู่ในกลุ่ม Alkylating agents กระบวนการออก ฤทธิ์เพื่อต้านมะเร็งของยาซัยโคลฟอสฟาไมด์คือ ตัวยาจะออกฤทธิ์โดยการจับ หรือรวมตัวกับดีเอ็นเอ(DNA) ของเซลล์มะเร็ง
ส่วนในการรักษาโรคออโตอิมมูน/โรคภูมิต้านตนเอง ตัวยาซัยโคลฟอสฟาไมด์จะ ออกฤทธิ์ ต่อการท างานของระบบภูมิคุ้มกันต้านทานโรคของร่างกาย จึงส่งผลให้ เกิดสรรพคุณในการใช้รัก ษาโรคออโตอิมมูน/โรคภูมิต้านตนเองได้
เป็นยาที่ใช้ในการรักษาโรคตุ่มน้ำพอง