Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 ความเป็นครู-การจัดการความรู้ - Coggle Diagram
บทที่ 6 ความเป็นครู-การจัดการความรู้
ความหมายของการจัดการความรู้
การจัดการความรู้ มีขั้นตอนในการแลกเปลี่ยนและการแบ่งปันความรู้
การจัดการความรู้ต้องการผู้มีความรู้ความสามารถในการตีความและประยุกต์ใช้ความรู้
การจัดการความรู้ เริ่มจากการรวบรวมข้อมูลดิบ
การจัดการความรู้เป็นเรื่องของการเพิ่มประสิทธิผลขององค์กร
ความสำคัญของการจัดการความรู้
ทำให้องค์กรมีความเข้มแข็ง
สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิธิภาพและมีประสิทธิผล
ทำให้เป้าหมายขององค์กรที่ต้องการจะสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้เป็นจริง
หลักการจัดการความรู้
การให้บุคลากรนำความรู้ภายนอกมาใช้พัฒนาอย่างเหมาะสม
ใจว่าการจัดการความรู้จะต้องมียุทธศาสตร์ที่มุ่งมั่นชัดเจน
การให้บุคคลได้ทดลองและเรียนรู้
ให้รู้และเข้าใจว่าการจัดการความรู้ ควรตั้งความหวังและความเสี่ยงให้ชัดเจน
การให้บุคลากรร่วมกันพัฒนาวิธีการทำงานใหม่ๆ
ให้รู้และเข้าใจว่าการจัดการความรู้ควรบูรณาการการจัดการความรู้ให้เข้ากับระบบที่มีอยู่
การให้บุคลากรหลักหลายทักษะและความคิดทำงานร่วมกัน
ให้รู้และเข้าใจว่าการจัดการความรู้ควรให้การศึกษาแก่ผู้ใช้บริการของท่านที่ให้บริการตนเอง
วิธีการจัดการความรู้
วิธีการจัดการความรู้ในองค์กรและเสนอกิจกรรมที่เป็นวิธีการจัดการความรู้ไว้
การสร้างทีมการจัดการความรู้ในองค์กร
1 ผู้ปฏิบัติจัดการความรู้ (Knowledgepractitioner)
2 ผู้เชี่ยวชาญความรู้กลุ่มนี้มีหน้าที่จัดการความรู้ที่อยู่ในกระดาษ
3 วิศวกรความรู้เป็นกลุ่มผู้บริหารระดับกลาง
การสร้างทีมงานการจัดการความรู้
การสร้างแบรนด์ในบรรยากาศของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างเข้มข้นในกลุ่มพนักงานระดับล่าง
การจัดการความรู้กับการพัฒนาสินค้า หรือรูปแบบการทำงานแบบใหม่ๆ
การจัดการองค์กรแบบใช้พนักงานระดับกลางเป็นพลังขับเคลื่อน
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างขององค์กรไปเป็นแบบหลายบริบทในเวลาเดียวกัน
บริบทของระบบงานปกติมีรูปแบบองค์กรเป็นแบบพีระมิด
บริบทของโปรเจคทีมร่วมกัน
สร้างเครือข่ายความรู้กับโลกภายนอก
การมีระบบการรับรู้และการตรวจสอบข่าวสารความก้าวหน้าของความรู้ในลักษณะของ intelligent
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเครือข่ายที่มุ่งประโยชน์หรือความดีให้แก่สังคม
การเชื่อมโยงและสกัดความรู้จากผู้ใช้บริการ
เครือข่ายการจัดการความรู้
รูปแบบของเครือข่าย
เครือข่ายที่ไม่เป็นทางการที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
เครือข่ายที่เป็นทางการมีโครงสร้างบทบาทที่ชัดเจน
องค์ประกอบของเครือข่ายการจัดการความรู้
รูปแบบการสื่อสาร
ผู้นำจะทำหน้าที่เป็นผู้ประสานงาน
เป้าหมายและวัตถุประสงค์ของผู้เข้าร่วมเครือข่าย
กระบวนการสร้างเครือข่ายการจัดการความรู้
องค์กรต้องสร้างกิจกรรมการจัดการความรู้
พัฒนาและสร้างกิจกรรมการจัดการความรู้
องค์กรต้องเห็นความสำคัญของเครือข่าย
การจัดการความรู้แบบต่อเนื่อง
โมเดลปลาทู - ความรู้เบื้องต้น(Tuna model:Thai -UNAids Model)
ตัวปลาหมายถึงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (knowledge Sharing:KS)
หัวปลาหมายถึงการจัดการความรู้ด้วยวิสัยทัศน์ (Knowledge Vision:KV)
หางปลาหมายถึงขุมความรู้ (knowledge assets:KA)
บุคคลสำคัญของการจัดการความรู้
คุณอำนวยเชื่อมโยงคนสร้างความสัมพันธ์ต่อกัน
คุณกฤษรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนเอง
คุณเอื้ออาทรการความรู้ขององค์กร
คุณลิขิตจดบันทึก
คุณวิศาสตร์ ออกแบบระบบไอที
การจัดการความรู้ตามความคิดของ No naka
การจัดเก็บความรู้
การถ่ายโอนความรู้
การสร้างความรู้
ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จ ของการจัดการความรู้
วัฒนธรรมการเรียนรู้
ความมุ่งมั่น
วัฒนธรรมการเรียนรู้
การมีส่วนร่วม
ประโยชน์และผลลัพธ์ที่ได้จากการจัดการเรียนรู้
มีกำไรมากขึ้นและลดต้นทุน
มีความคงที่ในกาในผลเรียนรู้
ได้รับความพึงพอใจ
การพัฒนาคุณภาพไปสู่นวัตกรรมใหม่
ช่วยลดระยะเวลาการพัฒนาผลิตภัณฑ์
การพัฒนาคุณภาพไปสู่นวัตกรรมใหม่
ได้รับความพึงพอใจ
มีกำไรมากขึ้นและลดต้นทุน
มีความคงที่ในกาในผลเรียนรู้
ช่วยลดระยะเวลาการพัฒนาผลิตภัณฑ์
การพัฒนาคุณภาพไปสู่นวัตกรรมใหม่
การจัดการความรู้ในสถานศึกษา
การจัดหาความรู้
การเก็บรักษาความรู้
การวิเคราะห์
การนำไปใช้