Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 บริบททางวัฒนธรรม, นางสาวขวัญพร วุ่นซิ้ว รหัสนิสิต 60205665…
บทที่ 2
บริบททางวัฒนธรรม
นิยามและองค์ประกอบของวัฒนธรรม
วัฒนธรรมคือภาษาที่คนในชาติใช้ร่วมกัน
วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่ตกทอดมาจากบรรพบุรุษ
วัฒนธรรมบอกถึงความเป็นชาติของกลุ่มชนนั้น
วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่พึงรักษาไว้ให้คนรุ่นต่อไป
วัฒนธรรมหมายถึงชุดประจำชาติและประเพณีต่าง ๆ
การนิยามคำว่า วัฒนธรรม ภาษา และบุคลิกลักษณะ โดยเอ็ดเวิร์ด ซาเฟียร์
ภาษา (language)
ภาษามีความหมายตามบริบททางวัฒนธรรมของตัวเอง
บุคลิกลักษณะ (personality)
บุคลิกลักษณะที่พึงประสงค์ในแต่ละวัฒนธรรมเปรียบเสมือนกระจกสะท้อนให้เห็นถึงรสนิยมหรือค่านิยมของสังคมนั้น ๆ
วัฒนธรรม (culture)
รูปแบบพฤติกรรมและค่านิยมที่สืบทอดต่อ ๆ กันมาของปัจเจกชนหรือกลุ่มชนหนึ่งซึ่งแสดงโลกแห่งความเป็นจริงหรือความเป็นจริงทางวัฒนธรรมให้ประจักษ์
ประเภทของวัฒนธรรม
วัฒนธรรมที่เป็นวัตถุ (material culture)
สิ่งของเครื่องใช้
สิ่งประดิษฐ์ต่างๆ
วัฒนธรรมที่ไม่ใช่วัตถุสิ่งของ(Non – Material culture)
ค่านิยม
ความเชื่อ
การจัดประเภทหรือเนื้อหาของวัฒนธรรมนั้นแบ่งกันหลายวิธี
แบ่งตามลักษณะความสัมพันธ์ต่อการดำเนินชีวิต
คติธรรม (Moral Culture)
เนติธรรม (Legal Culture)
วัตถุธรรม (Material Culture)
สหธรรม (Social Culture)
แบ่งตามผลิตภัณฑ์ทางความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์
วัฒนธรรมอุปนัย (inductive)
วัฒนธรรมสุนทรียะ (Aesthetic)
วัฒนธรรมแบบบริรักษ์ (Control)
ลักษณะของวัฒนธรรม
เกิดขึ้นจากการเรียนรู้ วัฒนธรรมไม่ได้เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
เป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น เพื่อใช้เป็นเครื่องอำนวยประโยชน์ในการดำเนินชีวิต
. เป็นมรดกของสังคม บ่งบอกถึงความยิ่งใหญ่และความเจริญก้าวหน้าของสังคม
เป็นวิถีชีวิตหรือแบบแผนการดำเนินชีวิต
เป็นสิ่งที่มีการเปลี่ยนอยู่เสมอ
กระบวนการเรียนรู้วัฒนธรรมแม่ (Enculturation)
การเรียนรู้โดยมีการสอนแบบไม่เป็นระบบ (Formal Learning)
การเรียนรู้ด้วยตนเองโดยการสังเกตและเลียนแบบ (Informal Learning)
การเรียนรู้โดยมีการสอนแบบเป็นระบบ (Technical Learning)
การสร้างความตระหนักทางวัฒนธรรม กับกระบวนการเรียนรู้วัฒนธรรมแม่
แนวคิดแบบเอาใจเขามาใส่ใจเรา (Empathy)
เรียนรู้โดยรับการปลูกฝังจากผู้ใหญ่ทั้งในด้านแนวคิด (ideas) และค่านิยม (values) หรือเรื่องการรับรู้ (perception) ต่าง ๆ
กระบวนการเรียนรู้และการปรับตัวเข้ากับวัฒนธรรมใหม่ (Cultural Adjustment)
Excitement/Honeymoon Stage เป็นระยะแรกที่เกิดขึ้นเมื่อบุคคลเริ่มเข้าสู่วัฒนธรรมใหม่
Depression/Avoidance Stage เมื่อระยะแรกสิ้นสุดลง บุคคลจะเริ่มตระหนักว่ามีความแตกต่าง
Gaining Ground/Near Recovery Stage เมื่อเวลาผ่านพ้นไป บุคคลจะค่อย ๆ สามารถปรับตัวเข้ากับขนบธรรมเนียมของเจ้าบ้าน
Adjustment/Full Recovery Stage บุคคลจะเข้าสู่ระยะขั้นตอนการปรับตัวเข้ากับวัฒนธรรมใหม่ได้อย่างสมบูรณ์
นางสาวขวัญพร วุ่นซิ้ว รหัสนิสิต 60205665 วิทยาลัยการศึกษาชีววิทยา เซค 7