Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 9.1 การติดเชื้อระบบขับถ่ายปัสสาวะระหว่างตั้งครรภ์ (Urinary system…
บทที่ 9.1
การติดเชื้อระบบขับถ่ายปัสสาวะระหว่างตั้งครรภ์ (Urinary system Infection during pregnancy)
การเปลี่ยนแปลงของระบบทางเดินปัสสาวะในขณะตั้งครรภ์
มีการเปลี่ยนแปลงทางกายวิภาคที่สําคัญ ของระบบทางเดินปัสสาวะ
มีขนาดใหญ่โดยเฉพาะด้านขวา ผลมาจากฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน ร่วมกับการถูกกดทับของมดลูกที่มีขนาดโตขึ้นขณะตั้งครรภ์
มีการคั่งของน้ําปัสสาวะในไต ท่อไต ค้างอยู่นาน เกิดการติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะ และมีการย้อนกลับของเชื้อเข้าสู่ไต ทําให้เกิดภาวะ pyelonephritis ตามมา
มีการเปลี่ยนแปลงทางหน้าที่ของไต
ตมีระบบการหมุนเวียนของเลือดเพิ่มขึ้น เพิ่มหน้าที่การกรองของไตขึ้น ทําให้ระดับ creatinine และ BUN ในเลือดลดต่ําลง
ตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะได้ ค่าปกติของโปรตีนในปัสสาวะคือ 150 มิลลิกรัมใน 24 ชั่วโมง ถ้ามีมากกว่า 300 มิลลิกรัมใน 24 ชั่วโมง คือ abnormal
ชนิดของการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะและระบบขับถ่ายปัสสาวะขณะตั้งครรภ์
Asymptomatic bacteriuria: ASB
ตรวจพบแบคทีเรียในปัสสาวะมากกว่า 105 colony forming unit/ml (cfu/ml) จากการเก็บปัสสาวะอย่างสะอาด 2 ครั้งติดต่อกัน โดยไม่มีอาการแสดงของการติดเชื้อ
เมื่อพบ ASB ในสตรีที่ไม่ตั้งครรภ์ ไม่จําเป็นต้องได้รับการรักษา พบในขณะตั้งครรภ์ จําเป็นต้องได้รับการรรักษาเนื่องจากขณะตั้งครรภ์จะมีการยืดขยายของทางเดินปัสสาวะ
2.Acute cystitis
เป็นการอักเสบของกระเพาะปัสสาวะ ที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียในระบบทางเดินปัสสาวะ ร่วมกับมีอาการเจ็บปวดขณะถ่ายปัสสาวะ ปัสสาวะแสบขัด ปัสสาวะบ่อย
ปัสสาวะมีสีขุ่นหรือสีแดง มีไข้สูง อ่อนเพลีย และปวดบริเวณท้องน้อย
Acute pyelonephritis
ตรวจพบแบคทีเรียในปัสสาวะ มากกว่า 105 cfu/ml ร่วมกับปัสสาวะเป็นหนอง มีไข้ หนาวสั่น และปวดบริเวณบั้นเอว
Nephrotic syndrome
พบโปรตีนในปัสสาวะมากประมาณ 5 กรัมต่อวัน โปรตีนในเลือดต่ํา ไขมันในเลือดสูง
renal failure
5.1 chronic renal failure มีสาเหตุมาจากโรคหลายอย่าง เช่น DM, SLE, glomerulonephritis
5.2 acute renal failure มีสาเหตุจาก septic abortion, preeclampsia with severe feature, hemolyticuremia syndrome
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
เกิดจากการติดเชื้อ Escherichia Coli (E. Coli) ที่อยู่รอบท่อปัสสาวะ
มีปัจจัยส่งเสริม คือ การเพิ่มขึ้นของฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนขณะตั้งครรภ์ ทําให้ท่อไตตึงตัว การหดรัดตัวของท่อไตลดลง ประสิทธิภาพในการดูดซึมกลับลดลง ปัสสาวะค้างอยู่ในทางเดินปัสสาวะมากขึ้น ปัสสาวะค้างอยู่ในกระเพาะปัสสาวะ
อาการและอาการแสดง
Lower UTI เช่น ท่อปัสสาวะอักเสบ กระเพาะปัสสาวะอักเสบ อาการปัสสาวะบ่อย ปัสสาวะแสบขัด กระปิดกระปรอย บางรายอาจพบปัสสาวะเป็นเลือดหรือสีน้ําล้างเนื้อ
Upper UTI ได้แก่ กรวยไตอักเสบ โดยจะพบปัสสาวะเป็นสีขุ่น หรือสีน้ําล้างเนื้อ ปวดหลังบริเวณตําแหน่งของไต มีไข้ หนาวสั่น คลื่นไส้อาเจียน หากอาการรุนแรงอาจมีอาการ ของการติดเชื้อในกระแสเลือด
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์ ได้แก่ Uterine contraction, Abortion, Premature labor, PROM
ผลต่อทารก ได้แก่ Prematurity, LBW, IUGR, Still birth
การประเมินและวินิจฉัย
Hx. ประวัติเกี่ยวกับการติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะ เช่น ปัสสาวะลําบาก ปัสสาวะไม่สุด หรือปัสสาวะเป็นเลือด
PE. ตรวจพบปัสสาวะขุ่น หรือพบปัสสาวะเป็นสีน้ําล้างเนื้อ ไข้ ปวดบริเวณท้องน้อยเหนือหัวหน่าว หากกดบริเวณcostovertebral angle จะปวดมาก
Lab ตรวจ urine analysis จะพบไข่ขาว เม็ดเลือดขาย ตรวจ urine culture จะพบเชื้อแบคทีเรียมากกว่า 105 dfu/ml
แนวทางการป้องกันและรักษา
การป้องกัน
ทําความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ทุกครั้งหลังขับถ่าย
ดื่มน้ําอย่างน้อยวันละ 8-10 แก้ว
ทําการคัดกรองการติดเชื้อตั้งแต่ต้น โดย U/C
การรักษา
การติดเชื้อแบบ ASB จําเป็นต้องได้รับยาปฏิชีวนะเพื่อการรักษาทุกราย
Cystitis ห้ยาปฏิชีวนะที่มีความไวต่อเชื้อ และปลอดภัยต่อมารดา และทารกมากที่สุด
Pyelonephritis ต้องให้ Admit,On IV, ABO injection, U/C หากไม่พบเชื้อจึงเปลี่ยนมาเป็นยาชนิดรับปากทางหลอดเลือด
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ให้คําแนะนําเกี่ยวกับการดําเนินของโรค และแผนการรักษาพยาบาล
เน้นความสําคัญของการมาตรวจครรภ์ ตามนัดอย่างต่อเนื่อง และสม่ําเสมอ
แนะนําการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ เพื่อป้องกันการติดเชื้อ หรือป้องกันการกลับเป็นซ้ํา
กรณีที่มีการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ และได้รับการรักษา
ระยะคลอด
ให้การพยาบาลเช่นเดียวกับผู้คลอดทั่วไป และเน้นเรื่องการทําความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกทุกครั้งหลังการขับถ่าย
ระยะหลังคลอด
การป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ และการป้องกันการกลับเป็นซ้ํา
แนะนําเพื่อป้องกันการติดเชื้อในขณะตั้งครรภ์ โดยเน้นการคุมกําเนิด