Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล - Coggle Diagram
บทที่ 6
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล
6.1 ชนิดของแผลและปัจจัยการส่งเสริมการหายของแผล
ชนิดของแผล (Type of wound)
แบ่งตามลำดับความสะอาด
แบ่งตามระยะเวลาการเกิด
แบ่งตามลักษณะ
แบ่งตามการรักษา
แบ่งตามสาเหตุ
ปัจจัยที่มีผลต่อการหายของบาดแผล
ปัจจัยเฉพาะที่ (Local factors)
1.3 การได้รับอันตรายและอาการบวม (trauma and edema)
1.4 การติดเชื้อ (infection)
1.2 ภาวะแวดล้อมแห้ง (dry environment)
1.5 ภาวะเนื้อตาย (necrosis)
1.1 แรงกด (pressure)
1.5 ภาวะเนื้อตาย (necrosis)
ปัจจัยระบบ (Systemic factors)
2.3 น้ำในร่างกาย (body fluid)
2.4 การไหลเวียนของโลหิตบกพร่อง (vascular insufficiencies)
2.2 โรคเรื้อรัง (chronic disease)
2.5 ภาวะกดภูมิคุ้มกันและรังสีรักษา
2.1 อายุ (age)
2.6 ภาวะโภชนาการ (nutritional status)
6.2 ลักษณะและกระบวนการหายของแผล
ลักษณะการหายของแผล
การหายของแผลแบบทุติยภูมิ
เป็นแผลขนาดใหญ่ที่เนื้อเยื่อถูกทำลาย มีการสูญเสียเนื้อเยื่อบางส่วน ขอบแผลมีขนาดกว้างเย็บแผลไม่ได้
การหายของแผลแบบตติยภูมิ
เป็นแผลชนิดเดียวกับแผลทุติยภูมิ เมื่อทำการรักษาโดยการทำแผลจนมีเนื้อเยื่อเกิดใหม่ปกคลุมสีแดงสด และไม่มีอาการการแสดงภาวะติดเชื้อแล้ว ศัลยแพทย์จะพิจารณาปลูกถ่ายผิวหนัง (skin graft) โดยนำผิวหนังของผู้ป่วยมาปะติดคลุมแผล
การหายของแผลแบบปฐมภูมิ
เป็นแผลประเภทที่ผิวหนังมีการสูญเสียเนื้อเยื่อเพียงเล็กน้อย และเป็นแผลที่สะอาด เช่น แผลผ่าตัด
กระบวนการหายของแผล
ระยะ1: ห้ามเลือดและอักเสบ
การห้ามเลือด(hemostasis)จะเกิดขึ้นก่อน ในเวลา 5-10 นาที
ระยะ 2: การสร้างเนื้อเยื่อ
เป็นระยะการสร้างเนื้อเยื่อใหม่จะเริ่มตั้งแต่วันที่ 4-12 วัน
ระยะ 3: การเสริมความแข็งแรง
เป็นระยะสุดท้ายของการสร้างและความสมบูรณ์ของคอลลาเจน
การบันทึกลักษณะบาดแผล
สิ่งที่ควรระบุในกำรบันทึกบาดแผล
ชนิดของบาดแผล เช่น แผลผ่าตัด (incision wound) เย็บกี่เข็ม(stitches)
ตำแหน่ง/บริเวณ เช่น ตำแหน่ง RLQ
ขนาด ควรระบุเป็นเซนติเมตร
สี เช่น แดง (readiness) เหลือง (yellow) ดำ (black) หรือปนกัน
ลักษณะผิวหนัง เช่น ผื่น (rash) เปียกแฉะ (Incontinence) ตุ่มน้ำพองใส (bruises)
ขั้นหรือระยะความรุนแรงของบำดแผล เช่น แผลกดทับขั้น 4 (4th stage)
สิ่งที่ปกคลุมบาดแผลหรือสารคัดหลั่ง (discharge) เช่น หนอง (pus) สารคัดหลั่ง
วิธีการเย็บแผลและวัสดุที่ใช้ในการเย็บแผล
วิธีการเย็บแผล
Continuous method เป็นวิธีการเย็บแผลแบบต่อเนื่องตลอดความยาวของแผล หรือความยาวของวัสดุเย็บแผล โดยไม่มีการตัดจนกว่าจะเสร็จสิ้นการเย็บแผล
Interrupted method เป็นวิธีการเย็บแผลที่ต้องตัดวัสดุเย็บแผลในทุกฝีเข็ม
2.1 Simple interrupted method เป็นวิธีการเย็บแผลเพื่อดึงรั้งให้ขอบแผลทั้ง
สองติดกัน เหมาะสำหรับเย็บบาดแผลผิวหนังทั่วไป
2.2 Interrupted mattress method เป็นวิธีการเย็บแผลโดยการตักเข็มเย็บที่
ขอบแผลสองครั้ง ใช้ในรายที่ต้องการความแข็งแรงของแผล เหมาะสำหรับเย็บแผลที่ลึกและยาว
Subcuticular method เป็นการเย็บแผลแบบ continuous method แต่ใช้เข็มตรงในการเย็บ และซ่อนวัสดุเย็บแผลไว้ในชั้นใต้ผิวหนัง
Retention method (Tension method) เป็นวิธีการเย็บรั้งแผลเข้าหากัน เพื่อพยุงแผลในกรณีผู้ที่มีชั้นไขมันหน้าท้องหนา หรือแผลที่ตึงมาก และแผลที่ต้องการทำ secondary suture
วัสดุที่ใช้ในการเย็บแผล
วัสดุที่ละลายได้เอง
1.1 เส้นใยธรรมชาติได้แก่ catgut ทำมาจาก collagen ใน submucosa ของลำไส้แกะหรือวัว
1.2 เส้นใยสังเคราะห์ เช่น polyglycolic acid (dexon), polyglycan (vicryl)
วัสดุที่ไม่ละลายเอง
2.1 เส้นใยตามธรรมชาติเช่น ไหมเย็บแผล
2.2 เส้นใยสังเคราะห์เช่น nylon
2.3 วัสดุที่เย็บเป็นโลหะ เช่น ลวดเย็บ
6.3 วิธีการทำแผลชนิดต่างๆ และการตัดไหม
ชนิดของการทำแผล
การทำแผลแบบแห้ง (Dry dressing)
การทำแผลแบบเปียก (Wet dressing)
อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำแผล
อุปกรณ์ทำความสะอาดแผล
1.1 ชุดทำแผล
1.2 สารละลาย ได้แก่ 1.2.1 แอลกอฮอล 1.2.2 น้ ำเกลือล้ำงแผล1.2.3 เบตำดีน
วัสดุสำหรับปิดแผล
2.1 ผ้าก๊อซ (gauze dressing) สำหรับปิดแผลขนาดเล็กและมีสารคัดหลั่งเล็กน้อย
2.2 ผ้าก๊อซหุ้มสำลี (top dressing) สำหรับปิดแผลที่มีสารคัดหลั่งจำนวนมาก
2.3 ผ้าซับเลือด (abdominal swab) ใช้ปิดแผลขนาดใหญ่ที่มีสารคัดหลั่งจำนวนมาก บางทีเรียกว่า “fluff”
2.4 วายก๊อซ (y-gauze) เป็นผ้าก็อซที่ตัดตรงกลางแผ่นเป็นรูปตัว Y ใช้ปิดแผลที่มีการใส่ท่อเพื่อระบายสารคัดหลั่ง
2.5 วาสลินก๊อซ (vaseline gauze) เป็นก๊อซชุบวาสลิน สำหรับปิดแผลเพื่อไม่ให้อากาศเข้าสู่แผล
2.6 ก๊อซเดรน (drain gauze) ผ้ำก๊อซลักษณะเป็นสายยาว ใช้ใส่แผลที่มีรูโพรงขนาดเล็ก
2.7 transparent film เป็นพลาสเตอร์กันน้ำที่มี gauze สำเร็จรูป มีลักษณะเป็น แผ่นฟิล์มโปร่งใส มีรูขนาดเล็กให้อากาศซึมผ่านจากภายนอกเข้าสู่แผลได้ แต่ไม่ใหญ่พอที่จะให้เชื้อแบคทีเรียผ่านเข้าสู่แผลได้ เช่น opsite, tegaderm เป็นต้น
2.8 แผ่นเทปผ้ำปิดแผล เป็นแผ่นปิดแผลส ำเร็จรูป มี gauze และแผ่นเทปพร้อมใช้
2.9 antibacterial gauze dressing เป็น gauze ปิดแผลชุบด้วยพาราฟิน และยาปฎิชีวนะ ฆ่าเชื้อแบคทีเรียได้
วัสดุสำหรับยึดติดผ้าปิดแผล
plaster ชนิดธรรมดา
plaster ชนิดพิเศษ
อุปกรณ์อื่น ๆ เช่น กรรไกรตัดไหม
ภาชนะสำหรับทิ้งสิ่งสกปรก เช่น ชามรูปไต ถุงพลาสติก
การทำแผลผ่าตัดแบบแห้ง (Dry dressing)
เปิดแผลโดยใช้มือ (ใส่ถุงมือ) หยิบผ้าปิดแผลโดยพับส่วนที่สัมผัสแผลอยู่ด้านในทิ้งลง ชามรูปไต หรือถุงพลาสติก
เปิดชุดทำแผล (ตำมหลักกำรของ IC) หยิบ forceps ตัวแรกโดยใช้มือจับด้านนอกของผ้าห่อชุดทำแผล หยิบขึ้นแล้วใช้ forceps ตัวแรกหยิบ forceps ตัวที่สอง วาง forceps ไว้ด้านข้างถาดของชุดทำแผล (กรณีใส่ถุงมือปลอดเชื้อให้ใช้มือหยิบ forceps ได้เลย)
หยิบ non-tooth forceps ใช้คีบส่งของ sterile ทำหน้ำที่เป็น transfer forceps
หยิบ tooth forceps ใช้รับของ sterile ทำหน้ำที่เป็น dressing forceps
หยิบสำลีชุบ alcohol 70% เช็ดรอบๆ แผลวนจากในออกนอกห่างแผล 1 นิ้วเป็นบริเวณกว้าง 2 นิ้ว
หยิบสำลีชุบ 0.9% NSS เช็ดจากบนลงล่างจนแผลสะอาดแล้วเช็ดด้วยสำลีแห้ง
ทำแผลด้วย antiseptic solution ตามแผนการรักษา (ถ้ำมี)
ปิดแผลด้วย gauze ติดพลาสเตอร์ตามแนวขวางของลำตัวโดยเริ่มติดชิ้นแรกตรงกึ่งกลางของแผลและไล่ขึ้น-ลงตำมลำดับ ส่วนหัวและท้ายต้องปิดทับผ้า gauze กับผิวหนังให้สนิท
เก็บอุปกรณ์ ถอดถุงมือ ถอด mask และล้ำงมือ ทิ้งขยะในถังขยะติดเชื้อทุกครั้ง
การทำแผลผ่าตัดแบบเปียก (Wet dressing)
เปิดแผลโดยใช้มือ (ใส่ถุงมือ) เปิดชุดทำแผลตามหลัก IC หยิบผ้าปิดแผลส่วนบนทิ้งลงในชามรูปไตหรือถุงพลาสติก เปิดผ้าปิดแผลชั้นที่ติดกับแผลด้วย tooth forceps หากผ้า gauze แห้งติดแผลใช้สำลีชุบน้ำเกลือหยดบนผ้า gauze ก่อน เพื่อให้เลือดหรือสารคัดหลั่งอ่อนตัว จะช่วยให้ผ้าgauze หลุดง่ายและไม่ทำลาย granulation tissue
ทำความสะอาดริมขอบแผลเช่นเดียวกับกำรทำ dry dressing
ใช้สำลีชุบน้ำเกลือหรือน้ำยาตามแผนการรักษาเช็ดภายในแผลจนสะอาด
ใช้ผ้า gauze ชุบน้ำยา (solution) ใส่ในแผล (packing) เพื่อฆ่าเชื้อและดูดซับสารคัดหลั่งให้ความชุ่มชื้นแก่เนื้อเยื่อ
ปิดแผลด้วยผ้า gauze และปิดพลาสเตอร์ตามแนวขวางของลำตัว
การทำแผลผ่าตัดที่มีท่อระบาย (Tube drain)
การตัดไหม (Suture removal)
หลักการตัดไหม
ตรวจสอบคำสั่งการรักษาของแพทย์ทุกครั้งว่ามีจุดประสงค์ให้ตัดไหมทุกอัน(total stitches off) หรือตัดอันเว้นอัน (partial stitches off)
เศษไหมที่เย็บแผลส่วนที่มองเห็นเป็นส่วนที่มีการสัมผัสเชื้อแบคทีเรียที่อาศัยอยู่ตามผิวหนังในการตัดและดึงไหมออกจึงไม่ควรดึงไหมส่วนที่มองเห็นลอดผ่านใต้ผิวหนัง และจะต้องดึงไหมออกให้หมด เพราะถ้าไหมตกค้างอยู่ใต้ผิวหนัง จะกลายเป็นสิ่งแปลกปลอมและเกิดการอักเสบติดเชื้อได้
ขณะตัดไหมหากพบว่ามีขอบแผลแยกให้หยุดทำ และปิดแผลด้วยวัสดุที่ช่วยดึงรั้งให้ขอบแผลติดกัน (sterile strip)
วิธีทำการตัดไหม
การตัดไหมที่เย็บแผล ชนิด interrupted mattress โดยใช้ไหมผูกปมเป็นอัน ๆชนิดสองชั้น ให้ตัดไหมส่วนที่มองเห็นและอยู่ชิดผิวหนังมากที่สุด ซึ่งอยู่ด้านตรงกันข้ามกับปมไหมให้ตัดไหมด้วยวิธีเดียวกับการเย็บแผลแบบ interrupted method
การตัดไหมที่เย็บแผลแบบต่อเนื่อง continuous method ให้ตัดไหมส่วนที่อยู่ชิดผิวหนังด้านตรงกันข้ามกับปมที่ผูกอันแรกและอันถัดไปด้านเดิม
การตัดไหมที่เย็บแผลชนิด interrupted method โดยใช้ไหมผูกเป็นปมแยกเป็นอัน ๆ โดยใช้tooth forceps จับชายไหมส่วนที่อยู่เหนือปมที่ผูกไว้ ดึงขึ้นพอตึงมือจะเห็นไหมใต้ปมโผล่พ้นผิวหนังขึ้นมำ และสอดปลายกรรไกรตัดไหมในแนวราบขนาดกับผิวหนังเล็กตัดไหมส่วนที่อยู่ชิดผิวหนังซึ่งอยู่ใต้ปมที่ผูกแล้วดึงไหมในลักษณะดึงเข้าหาแผลเพื่อป้องกันแผลแยก
กรณีที่ใช้ลวดเย็บเป็นวัสดุเย็บแผล ทำความสะอาดแผลผ่าตัดตามปกติ
ทำความสะอาดแผล
ภายหลังตัดไหมครบทุกเส้นแล้ว เช็ดแผลด้วย normal saline 0.9% และเช็ดให้แห้งอีกครั้ง
6.4 วิธีการพันแผลชนิดต่างๆ
ชนิดของผ้าพันแผล
ผ้าพันแผลชนิดม้วน
ผ้าพันแผลชนิดพิเศษ
ผ้าสามเหลี่ยม
หลักการพันแผล
ผู้พันผ้าและผู้บาดเจ็บหันหน้าเข้ำหากัน จัดท่าให้ผู้บาดเจ็บอยู่ในท่าที่สบาย
ตำแหน่งที่ต้องการจะพันผ้าผิวหนังบริเวณนั้นต้องสะอาดและแห้ง
กำรลงน้ำหนักมือเพื่อดึงผ้าพันแผลควรระวังใช้น้ำหนักให้เหมาะสม ถ้ำลงน้ำหนักมือมากอาจทำให้แน่นเกินไป
ต้องทำความสะอาดบาดแผล และปิดผ้าปิดแผลให้เรียบร้อยก่อน แล้วจึงพันผ้าปิดทับ ต้องระวังหากพันแน่นเกินไปผู้ป่วยอาจเจ็บแผล
ตำแหน่งที่บาดเจ็บ เช่น นิ้วมือ นิ้วเท้า ต้องใช้ผ้าก๊อสคั่นระหว่ำงนิ้วก่อน ป้องกันการเสียดสีของผิวหนังอาจทำให้เกิดแผลระหว่างนิ้วได้
การพันผ้าบริเวณเท้า ขา ตะโพก ต้องมีผู้ช่วยคอยประคองอวัยวะส่วนนั้นไว้เพื่อช่วยให้ผู้พันผ้าสะดวกและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการพันผ้าในตำแหน่งนั้น ๆ
การพันผ้าใกล้ข้อ ต้องพันผ้า โดยคำนึงถึงการขยับเคลื่อนไหวของข้อนั้นด้วย
วิธีการพันแผล
การใช้ผ้าสามเหลี่ยม ผ้าสามเหลี่ยมเป็นสามเหลี่ยมที่มีมุมยอดเป็นมุมฉาก ขนาด
ของผ้าที่ใช้ขึ้นอยู่กับขนาดของตัวผู้ป่วยและอวัยวะที่ต้องการพันผ้า
การใช้ผ้าพันแผลชนิดม้วน มีหลักการพันผ้า ได้แก่ เริ่มต้นพันผ้าจากส่วนเล็กไปหา
ส่วนใหญ่ พันผ้าเข้าหาตัวผู้ป่วย ตั้งต้นและจบผ้าพันด้วยการพันรอบทุกครั้งเพื่อให้ผ้าไม่เลื่อนหลุด
การพันผ้าแบบชนิดม้วน
การพันแบบเกลียวพับกลับ
การพันเป็นรูปเลข 8
การพันแบบเกลียว
การพันแบบกลับไปกลับมา
การพันแบบวงกลม
6.6 กระบวนการพยาบาลในการพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล
การปฏิบัติการพยาบาลแบบองค์รวม (Holistic nursing care)
4.3 ด้านสังคม
4.3 ด้านสังคม
4.4 ด้านจิตวิญญาณ
4.1 ด้านร่างกาย
การประเมินผล (Evaluation)
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การประเมินภาวะสุขภาพ (Assessment)
6.5 ปัจจัยที่ทำให้เกิดแผลกดทับ ระยะของแผลกดทับและการป้องกันแผลกดทับ
ปัจจัยส่งเสริมการเกิดแผลกดทับ
ปัจจัยภายในร่างกาย
1.2 ภาวะโภชนาการ
1.3 ยาที่ได้รับการษา
1.1 อายุ
1.4 การผ่าตัด
ปัจจัยภายนอกร่างกาย
2.2 แรงเสียดทาน
2.3 แรงเฉือน
2.1 แรงกด
2.4 ความชื้น
ระยะของแผลกดทับ
ระดับที่ 2 ผิวหนังแดงเริ่มมีแผลเล็กๆ มีหนังแท้ถูกทำลายฉีกขาดเป็นแผลตื้น
ระดับที่ 3 แผลลึกถึงชั้นไขมัน (subcutaneous) แต่ยังไม่ถึงชั้นกล้ามเนื้อ (muscle)มีรอยแดงบริเวณเนื้อเยื่อรอบๆ และเริ่มมีสารคัดหลั่งจากแผลมีรอยแผลลึก มีสิ่งขับหลั่งจากแผล เริ่มมีกลิ่นเหม็นยังไม่มีเนื้อตาย
ระดับที่ 4 แผลลึก เป็นโพรงถึงกล้ามเนื้อ กระดูก และเยื่อหุ้มข้อ พบมีเนื้อตาย
ระดับที่ 1 ผิวหนังแดงไม่มีการฉีกขาดของผิวหนังและไม่จางหายไปภายใน 30 นาที
การป้องกันการเกิดแผลกดทับ
การประเมินความเสี่ยงตามแบบประเมินความเสี่ยงของการเกิดแผลกดทับ
การเฝ้าระวังความเสี่ยงและควรการประเมินซ้ำเมื่อมีปัจจัยเสี่ยง
ลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับและเพิ่มปัจจัยเสริมการหายของแผล
กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีแผลกดทับ
การวางแผนให้การพยาบาล (Planning)
การให้การพยาบาลตามแผนการพยาบาลที่วางไว้
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Diagnosis)
การประเมินผลการพยาบาล
การประเมินภาวะสุขภาพ (Assessment)