Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล - Coggle Diagram
บทที่ 6
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล
วิธีการพันแผลชนิดต่างๆ
ชนิดของผ้าพันแผล
ผ้าสามเหลี่ยม
เป็นผ้าสามเหลี่ยมทำด้วยผ้าเนื้อละเอียดไม่ระคายเคืองต่อผิวหนัง ด้านยาวยาวกว่าด้านกว้าง
ผ้าพันแผลชนิดม้วน
เป็นม้วนกลม ชนิดที่ไม่ยืด และชนิดยืด
ผ้าพันแผลชนิดพิเศษ
เป็นผ้าที่มีรูปร่างแตกต่างกันไป
ปัจจุบันมีวัสดุการแพทย์ที่ทันสมัยมาใช้แทน เช่น abdominal support เป็นวัสดุการแพทย์สำเร็จรูปมีหลายขนาดเลือกใช้สำหรับพยุงอวัยวะภานช่องท้องหลังการผ่าตัด
หลักการพันแผล
ผู้พันผ้ำและผู้บำดเจ็บหันหน้ำเข้ำหำกัน จัดท่ำให้ผู้บำดเจ็บอยู่ในท่ำที่สบำยวำงอวัยวะส่วนที่จะพันผ้ำให้รู้สึกผ่อนคลำย
ตำแหน่งที่ต้องกำรจะพันผ้ำผิวหนังบริเวณนั้นต้องสะอำดและแห้ง
กำรลงน้ำหนักมือเพื่อดึงผ้ำพันแผลควรระวังใช้น้ำหนักให้เหมำะสม ถ้ำลงน้ำหนักมือมำกอำจทำให้แน่นเกินไป
ต้องทำควำมสะอำดบำดแผล และปิดผ้ำปิดแผลให้เรียบร้อยก่อน แล้วจึงพันผ้ำปิดทับ ต้องระวังหำกพันแน่นเกินไปผู้ป่วยอำจเจ็บแผล
กำรพันผ้ำบริเวณเท้ำ ขำ ตะโพก ต้องมีผู้ช่วยคอยประคองอวัยวะส่วนนั้นไว้ เพื่อช่วยให้ผู้พันผ้ำสะดวกและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของกำรพันผ้ำในตำแหน่งนั้น ๆ
ตำแหน่งที่บำดเจ็บ เช่น นิ้วมือ นิ้วเท้ำ ต้องใช้ผ้ำก๊อสคั่นระหว่ำงนิ้วก่อน ป้องกันกำรเสียดสีของผิวหนังอำจทำให้เกิดแผลระหว่ำงนิ้วได้
กำรพันผ้ำใกล้ข้อ ต้องพันผ้ำ โดยคำนึงถึงกำรขยับเคลื่อนไหวของข้อนั้นด้วย
วิธีการพันแผล
การใช้ผ้าสามเหลี่ยม ผ้าสามเหลี่ยมเป็นสามเหลี่ยมที่มีมุมยอดเป็นมุมฉาก ขนาดของผ้าที่ใช้ขึ้นอยู่กับขนาดของตัวผู้ป่วยและอวัยวะที่ต้องการพันผ้า
การใช้ผ้าพันแผลชนิดม้วน มีหลักการพันผ้า ได้แก่ เริ่มต้นพันผ้าจากส่วนเล็กไปหาส่วนใหญ่ พันผ้าเข้าหาตัวผู้ป่วย ตั้งต้นและจบผ้าพันด้วยการพันรอบทุกครั้งเพื่อให้ผ้าไม่เลื่อนหลุด การเริ่มต้น การต่อผ้า หรือการจบของการพันผ้า ต้องระวังไม่ตำแหน่งที่เริ่มหรือจบผ้านั้นต้องไม่ตรงกับบริเวณที่เป็นแผลหรือบริเวณที่มีการอักเสบ เพราะจะทำให้เกิดการระคายเคืองและปวดมากขึ้น
การเริ่มต้นพันผ้าต้องหงายม้วนผ้าขึ้น
ปัจจัยที่ทาให้เกิดแผลกดทับ ระยะของแผลกดทับและการป้องกันแผลกดทับ
ปัจจัยภายในร่างกาย
อายุ ผู้ป่วยที่เกิดแผลกดทับ ร้อยละ 70 เป็นผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป
ภาวะโภชนาการ ผู้ป่วยที่ได้รับสารอาหารที่ไม่เพียงพอ
การผ่าตัด ผู้ป่วยที่ใช้เวลาในการนานกว่า 3 ชั่วโมง จะมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับซึ่งจำกสาเหตุของการจำกัดการเคลื่อนไหวระหว่างผ่าตัดและการดมยาสลบ
ยาที่ได้รับการรักษา
ปัจจัยภายนอกร่างกาย
แรงกด เป็นแรงที่กดบริเวณลงระหว่างผิวหนังผู้ป่วยกับพื้นรองรับน้ำหนักเป็นสำเหตุสำคัญที่สุดของการเกิดแผลกดทับ
แรงเสียดทาน เกิดระหว่างผิวหนังชั้นนอกกับพื้นผิวสัมผัส
แรงเฉือน เป็นแรงดึงรั้งระหว่างชั้นผิวหนังเกี่ยวข้องกับแรงโน้มถ่วงของโลกและแรงต้านที่ทำให้ผิวหนังอยู่กับที่
ความชื้น เกิดจากสารคัดหลั่งของร่างกายผู้ป่วยเองจะทำให้ความต้านทำนต่อแรงกดลดลงจะเกิดแผลกดทับได้ง่าย
ระยะของแผลกดทับ
ระดับที่ 1
ผิวหนังแดงไม่มีการฉีกขาดของผิวหนังและไม่จางหายไปภายใน 30 นำที
ระดับที่ 3
แผลลึกถึงชั้นไขมัน แต่ยังไม่ถึงชั้นกล้ามเนื้อ มีรอยแผลลึก มีสิ่งขับหลั่งจากแผล เริ่มมีกลิ่นเหม็นยังไม่มีเนื้อตาย
ระดับที่ 2
ผิวหนังแดงเริ่มมีแผลเล็กๆ มีหนังแท้ถูกทำลายฉีกขาดเป็นแผลตื้น
ระดับที่ 4
แผลลึก เป็นโพรงถึงกล้ามเนื้อ กระดูก และเยื่อหุ้มข้อ พบมีเนื้อตาย
การป้องกันการเกิดแผลกดทับ
การประเมินความเสี่ยงตามแบบประเมินความเสี่ยงของการเกิดแผลกดทับ
กำรเฝ้าระวังความเสี่ยงและควรการประเมินซ้ำเมื่อมีปัจจัยเสี่ยง
ลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับและเพิ่มปัจจัยเสริมการหายของแผล