ภาวะหัวใจล้มเหลว
(congestive heart failure : CHF)

พยาธิสภาพ

สาเหตุ

การวินิจฉัย

การรักษา

Tricuspid regurgitation

โรคลิ้นหัวใจไมตรัลรั่ว mitral regurgitation (MR)

ภาวะลิ้นหัวใจเออร์ติกรั่ว Aortic regurgitation (AR)

ลิ้นเอออร์ติกรั่วมีลักษณะเฉพาะของโลกคือมีการเพิ่มทั้งความดันและปริมาณเลือดในห้องหัวใจเวนตริเคิลซ้าย เนื่องจากหัวใจเวนตริเคิลซ้ายรับเลือด 2 ทาง จากปริมาณเลือดที่ส่งมาจากห้องหัวใจเอเตรียมและจากการไหลย้อนกลับของเลือดจากเอออร์ต้า ปริมาณเลือดที่เพิ่มขึ้นทำให้ปริมาณเมื่อสิ้นสุดการขายตัวในห้องหัวใจเวนตริเคิลซ้ายสูงขึ้นหัวใจปรับตัวโดยกบ้ามเนื้อหัวใจหนาตัวขึ้นเพื่อรองรับปริมาณเลือดที่เพิ้มขึ้นแบะคงไว้ซึ่งประสิทธิภาพการบีบตัวของหัวใจให้ปกติ แรงต้านที่เพิ่มขึ้นในห้องเวนตริเคิลร่วมกับการเพิ่มปริมาณเลือดสู่หัวใจจากเลือดที่มีความดันสูงจากเอออร์ต้า ทำให้เกิดการหนาตัวแบบผนังกล้ามเนื้อหัวใจหนาตัวและยืดขยายด้วย ซึ่งมักเกิดขึ้นจากการที่หัวใจรองรับปริมาณเลือดที่มาจาก (Volume overload) และอาจพบการหาตัวแบบผนังกล้ามเนื้อหัวใจหนาตัวโดยปราศจากยืดขยายทำให้กำจัดการรับเลือดซึ่งเกิดขึ้นจากที่หัวใจรับแรงดันที่มากเกินในระยะแรกหัวใจยังปรับตัวชดเชยได้แต่เมื่อความสมดุลระหว่าง afterload excess, preload reserve และ hypertrophy ไม่สามารถคงไว้ได้ประสิทธิภาพการบีบตัวของหัวใจลดลงหรือหัวใจทำหน้าที่ได้ไม่มีประสิทธิภาพทำให้เกิดภาวะหัวใจล้มเหลว

พยาธิสรีรวิทยา
ลิ้นไมทรัลรั่วทำให้มีเลือดไหลย้อนกลับเข้ามาในห้องหัวใจเอเตรียมซ้ายในขณะที่เวนตริเคิลซ้ายบีบตัวส่งผลให้ปริมาณเลือดที่บีบตัวออกจากหัวใจลดลง ปริมาณเลือดที่ไหลย้อนกลับและปริมาณเลือดที่จะไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ของร่างกายจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับความรุนแรงของการรั่ว เลือดที่ไหลย้อนกลับทำให้ความดันในห้องหัวใจเอเตรียมซ้ายเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ความดันที่ปอดเพิ่มขึ้นเกิดภาวะปอดคั่งน้ำ ในผู้ป่วยที่ลิ้นหัวใจรั่วเรื้อรังร่างกายจะปรับตัวเพื่อคงไว้ซึ่งปริมาณเลือดที่บีบตัวออกจากหัวใจโดยผนังกล้ามเนื้อหัวใจห้องเวนตริเคิลซ้ายจะหนาตัวขึ้น (hypertrophy) เพื่อเพิ่มแรงในการบีบตัวแต่ละระยะเวลาต่อมาเซลล์ที่หนาตัวขึ้นทำให้ความต้องการใช้ออกซิเจนมากขึ้นร่วมกับหัวใจทำงานหนักขึ้นทำให้การทำหน้าที่ของเวนตริเคิลซ้ายไม่มีประสิทธิภาพ เกิดภาวะหัวใจล้มเหลวตามมา แต่หากเกิดการรั่วอย่างเฉียบพลัน เช่น จากการฉีกขาดของ papillary muscle or chordate tendineae ผู้ป่วยจะมีอาการของภาวะ left-side heart failure โดยพบหัวใจเต้นเร็ว เหงื่อออก ความดันโลหิตต่ำ ได้ยินเสียง crackle crepitation ที่ปอด จากการที่ความดันในเอเชียนเกมส์ซ้ายเพิ่มขึ้นอย่างทันที ทำให้เกิดภาวะ cute pulmonary congestion และ right-side heart failure

พยาธิสภาพ
ลิ้นไตรคัสปิดรั่วทำให้เลือดไหลย้อนกลับเข้าสู่เอเตรียม ขวาความดันในเอเตรียมขวาสูงขึ้นส่งผลให้เลือดไหลย้อนกลับไปที่ระบบไหลเวียนทั่วร่างกายและเกิดภาวะหัวใจซีกขวาล้มเหลวนอกจากนี้อาจพบหัวใจเต้นผิดจังหวะชนิด AF เนื่องจากการยืดขยายของห้องหัวใจเอเตรียม

3.การถ่ายภาพรังสีทรวงอกหรือเอกซเรย์ทรวงอก (Chest X-ray) อาจพบหัวใจโตพบมีแคลเซียมเกาะที่ลิ้นหัวใจพบ Lung infiltration เนื่องจากมีภาวะปอดบวมน้ำ

4.ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (Electrocardiogram : EKG)

2.การตรวจร่างกาย โดยการฟังเสียงหัวใจที่จะพบเสียงฟู่ (murmur) ซึ่งเกิดจากการไหลเวียนของเลือดผ่านหัวใจที่ผิดปกติและคลำพบแรงสั่นสะเทือนมากระทบฝ่ามือ thrill เมื่อฟัง murmur ได้เกรด 4 ขึ้นไป (การแบ่งระดับความดังของเสียง murmur แบ่งได้เป็น 6 ระดับระดับหนึ่งเบามากและระดับ 6 เสียงดังมาก)

5.การตรวจคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง (Echocardiograpy) ผู้ป่วยมีความผิดปกติของลิ้นหัวใจจะสามารถมองเห็นทิศทางการไหลของเลือดลักษณะการเปิดปิดของลิ้นหัวใจคำนวณขนาดพื้นที่หน้าตัดของลิ้นหัวใจ สามารถประเมินความหนาการยืดขยายของผนังกล้ามเนื้อเยื่อหัวใจความแตกต่างระหว่างความดันในห้องหัวใจและประเมินประสิทธิภาพการบีบตัวของหัวใจ

1.ซักประวัติจากอาการและอาการแสดงที่จำเพาะกับโรค เช่น ผู้ป่วยส่วนใหญ่มักมาโรงพยาบาลด้วยภาวะหัวใจล้มเหลว อาการเหนื่อยเวลาทำกิจกรรม หายใจลำบาก เหนื่อยล้า ความทนในการทํากิจกรรมลดลง นอนราบไม่ได้ เป็นต้น

1.การรักษาด้วยยามีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบีบตัวของหัวใจเพื่อปรับชดเชยการทำงานของลิ้นหัวใจที่ไม่สามารถทำหน้าที่ได้สมบูรณ์ยาที่ใช้ เช่น

2.การผ่าตัด

Lasix ให้ยาเพื่อควบคุมปริมาณน้ำ

Warfarin,Cardipine ให้ยาเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ

-การผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจ (Valve repair surgery)คือการผ่าตัดเอาลิ้นหัวใจที่ผิดปกติออกแล้วใส่ลิ้นหัวใจเทียมเข้าไปแทนที่ ผู้รับบริการผ่าตัดแบบลิ้นเนื้อเยื่อ (Bioprosthetic value) คือลิ้นหัวใจที่ทำมาจากเนื้อเยื่อของสัตว์

อาการและอาการแสดง

click to edit

อาการและอาการแสดง
เหนื่อยล้า ความทนในการทํากิจกรรมลดลงเนื่องจากปริมาณเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายลดง หายใจลำบากเมื่อทำกิจกรรม นอนราบไม่ได้เจ็บหน้าอก บวมบริเณส่วนปลาย ความอยากอาหารลดลง

กิจกรรมการพยาบาล

4.ดูแลจำกัดน้ำตามแผนการรักษา

5.จำกัดโซเดียมในอาหาร

3.ดูแลให้ได้รับยาขับปัสสาวะตามแผนการรักษา บันทึกปริมาณน้ำ-เข้าออก เฝ้าระวังภาวะโพแทสเซียมต่ำ โดยเจาะเลือดติดตามผลโพแทสเซียมและอิเล็กโทรไลต์ในร่างกาย และบันทึกจำนวนปัสสาวะประเมินความสมดุลของสารน้ำ

2.ประเมินสัญญาณชีพ ฟังเสียงปอด หัวใจ และวัดระดับความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด ดูแลให้รับออกซิเจนตามแผนการรักษา

1.ประเมินความรุนแรงของภาวะหัวใจล้มเหลวตามความสามารถในการทำกิจกรรม functional class heart failure (NYHA) และให้การพยาบาลที่เหมาะ เช่น ควรให้นอนพัก จำกัดกิจกรรมอยู่บนเตียง เพื่อลดความต้องการใช้ออกซิเจนของกล้ามเนื้อหัวใจในอวัยวะอื่นๆ

6.ติดตามผล(Chest X-ray),(Echocardiograpy),(Electrocardiogram : EKG)

จัดทำโดย
นางสาวศิญาพร เถาวัลย์ราช นักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย

click to edit

ภาวะที่หัวใจไม่สามารถสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกายได้อย่างเพียงพอจนส่งผลให้อวัยวะต่างเกิดการขาดออกซิเจน หัวใจซึ่งทำหน้าที่เหมือนปั๊มน้ำ เพื่อส่งเลือดออกจากห้องหัวใจ เมื่อหัวใจมีความบกพร่องในการสูบฉีดเลือด จะส่งผลให้เกิดมีภาวะคั่งของเลือดหรือน้ำในห้องหัวใจและเกิดการล้นกลับไปที่ปอด หรือเกิดภาวะที่เรียกว่าน้ำท่วมปอด

ภาวะลิ้นหัวใจเออร์ติกรั่ว

โรคลิ้นหัวใจไมตรัลรั่ว

การซ่อมลิ้นหัวใจไตรคัสปิด