Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6การพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล - Coggle Diagram
บทที่ 6การพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล
ชนิดของแผลและปัจจัยการส่งเสริมการหายของแผล
ชนิดของแผล (Type of wound)
ตามสาเหตุ
surgical wound
cut wound
stabwound
explosive wound
crush wound
ฯลฯ
ตามลักษณะพื้นผิว
dry wound
wet wound
ตามลำดับความสะอาด
Class I: Clean wound แผลผ่าตัดสะอาด
เสี่ยงต่อกํารติดเชื้อ ≤2%
Class II: Clean-contaminated แผลสะอาดกึ่งปนเปื้อน
เสี่ยงต่อกํารติดเชื้อ 5-15 %
Class III: Contaminated แผลปนเปื้อน
เสี่ยงต่อกํารติดเชื้อ ≥15%
Class IV: Dirty/Infected แผลสกปรก/แผลติดเชื้อ
เสี่ยงต่อกํารติดเชื้อ ≥30%
ตามระยะเวลําการเกิด
acute wound
chronic wound
gangrene wound เนื้อตาย
ตามการรักษา
การรักษาผู้ป่วยศัลยกรรมกระดูก
2.การรักษาแผลด้วยสุญญากาศ
แผลท่อระบาย เป็นแผลผ่าตัด
แผลท่อหลอดคอ
แผลท่อระบายทรวงอก
แผลทวารเทียมหน้าท้อง
ปัจจัยที่มีผลต่อการหายของบาดแผล
ปัจจัยเสริม
อายุน้อย
โภชนาการ
protein
carbohydrate and fat
minerals
vitamins
fluid
ปัจจัยเสี่ยง
แรงกด (pressure)
ภาวะแวดล้อมแห้ง (dry environment)
ได้รับอันตรายและอาการบวม (trauma and edema)
infection
necrosis
โรคเรื้อรัง
น้ำในร่างกาย
vascular insufficiencies
ภาวะกดภูมิคุ้มกันและรังสีรักษา
ลักษณะและกระบวนการหายของแผล
Type of wound healing
Primaryintentionhealing หายเอง
Secondaryintentionhealingมีโอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อสูง
Tertiaryintentionhealing
มีเนื้อเยื่อเกิดใหม่ปกคลุมสีแดงสด และไม่มีอาการแสดงภาวะติดเชื้อแล้ว
กระบวนการหายของแผล(Stage of wound healing)
ระยะ1: ห้ามเลือดและอักเสบ
การห้ามเลือด(hemostasis)เวลา 5-10 นาที
ระยะ2: การสร้างเนื้อเยื่อ
ตั้งแต่วันที่ 4-12 วัน
ระยะ3: การเสริมความแข็งแรง
หลังการผ่ําตัด 20 วัน
เพิ่มความแข็งแรงใช้เวลาอีก 60-180 วัน หรือ 2 ปี
การบันทึกลักษณะบาดแผล
ชนิดของบาดแผล
2.ตำแหน่ง/บริเวณ
3.ขนาด ควรระบุเป็นเซนติเมตร
4.สี
5.ลักษณะผิวหนัง
6.ขั้นหรือระยะความรุนแรงของบาดแผล
7.สิ่งที่ปกคลุมบําดแผลหรือสารคัดหลั่ง (discharge)
วิธีการเย็บแผลและวัสดุที่ใช้ในการเย็บแผล
วัตถุประสงค์
1.ห้ามเลือด
ดึงขอบแผลเข้าหากัน
ส่งเสริมการหายของแผล
ป้องกันมิให้เชื้อโรคเข้าไปในแผล
รักษาสภาพปกติของผิวหนัง
มี 4วิธี
Continuous method
Interrupted method
2.1 Simple interrupted method
2.2 Interrupted mattress method
Subcuticular method
Retention method (Tension method)
วัสดุที่ใช้ในการเย็บแผล
วัสดุที่ละลายได้เอง
วัสดุที่ไม่ละลายเอง
วิธีการทำแผลชนิดต่างๆและการตัดไหม
ชนิดของการทำแผล
การทำแผลแบบแห้ง
การทำแผลแบบเปียก
3.การทำแผลผ่าตัดที่มีท่อระบาย
อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำแผล
อุปกรณ์ทำความสะอาดแผล
dressing set
solution
วัสดุสำหรับปิดแผล
วัสดุสำหรับยึดติดผ้าปิดแผล
อุปกรณ์อื่น ๆ
ภาชนะสำหรับทิ้งสิ่งสกปรก
การตัดไหม
หลักการ
3.แผลแยกให้หยุดทำ และปิดแผลด้วยวัสดุที่ช่วยดึงรั้ง
เศษไหม
1.ตรวจสอบคำสั่ง
วิธีการพันแผลชนิดต่างๆ
ชนิดของผ้าพันแผล
ผ้าสามเหลี่ยม
ผ้าพันแผลชนิดม้วน
ผ้าพันแผลชนิดพิเศษ
หลักการ
หันหน้าเข้าหากัน จัดท่าให้ผู้บาดเจ็บ
สะอาดและแห้ง
ใช้น้ำหนักให้เหมาะสม
ต้องทำความสะอาดบาดแผลและปิดผ้าปิดแผลก่อน
ใช้ผ้าก๊อสคั่นระหว่ํางนิ้วก่อนป้องกันการเสียดสี
บริเวณเท้า ขา สะโพก ต้องมีผู้ช่วยคอยประคอง
คำนึงถึงกํารขยับเคลื่อนไหวของข้อ
วิธีการพันแผล
การใช้ผ้าสามเหลี่ยม
พันมือ
พันเท้า
การใช้ผ้าพันแผลชนิดม้วน
1.การพันแบบวงกลม(circular turn)
2.การพันแบบเกลียว (spiral turn)
การพันแบบเกลียวพับกลับ(spiral reverse)
การพันเป็นรูปเลข 8(figure ofeight)
การพันแบบกลับไปกลับมา (recurrent)
แผลกดทับ
ปัจจัยส่งเสริมการเกิดแผลกดทับ
ปัจจัยภายในร่างกาย
ผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป
ได้รับสารอาหารที่ไม่เพียงพอ
ยาที่ได้รับการักษา
การผ่าตัด ผู้ป่วยที่ใช้เวลาในการนานกว่า 3 ชั่วโมง
2.ปัจจัยภายนอกร่างกาย
แรงกด
แรงเสียดทาน เกิดระหว่างผิวหนังชั้นนอกกับพื้นผิวสัมผัส
แรงเฉือน
เช่นการยกหัวเตียงสูง ฯลฯ
ความชื้น
การป้องกันการเกิดแผลกดทับ
การประเมินความเสี่ยง
2.การเฝ้าระวังความเสี่ยงและควรการประเมินซ้ำ
ลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับและเพิ่มปัจจัยเสริมกํารหํายของแผล
กระบวนการพยาบาล
การวางแผนให้การพยาบาล (Planning)
4.การให้การพยาบาลตามแผนการพยาบาลที่วางไว้
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ตัวอย่าง“เสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับบริเวณก้นกบเนื่องจากขยับตัวเองไม่ได้”
การประเมินผลการพยาบาล
*สอดคล้องกับข้อวิจฉัยและเกณฑ์การประเมิน
ตัวอย่าง ผิวหนังบริเวณก้นกบของผู้ป่วยแห้ง ไม่อับชื้น Braden scaleเท่ากับ 15 คะแนน
การประเมินภาวะสุขภาพ ทั้งร่างกายและจิตใจ