Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบทางเดินหายใจ, Bangkokdrug-CliniCold01-260x385,…
บทที่ 8 ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบทางเดินหายใจ
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบทางเดินหายใจ ( Respiratory drugs )
ยาที่ใช้ในการรักษาหอบหืด 1.ยาขยายหลอดลม (Bronchodilators) ยากลุ่มกระตุ้นตัวรับชนิดเบต้า-2 (beta-2 agonists)
ยากลุ่มนี้เป็นยากลุ่มแรกและเป็นกลุ่ม หลักที่นำมาใช้ในการรักษาหอบหืด จากที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้นเกี่ยวกับตัวรับชนิด beta-2 receptor ซึ่งเป็นตัวรับของระบบประสาท adrenergic nervous system พบมากที่หลอดลม เมื่อกระตุ้นตัวรับชนิดนี้จะมีผลทำให้กล้ามเนื้อเรียบของหลอดลมคลายตัว ยาใน
กลุ่มนี้จะกระตุ้นต่อตัวรับนี้อย่างจำเพาะเจาะจง นอกจากนี้ยังช่วยยับยั้งการหลั่งสารสื่อจาก mast cell และเพิ่มการทำงานของขนเซลล์ (cilia) ช่วยในการกำจัดเยื่อเมือกในทางเดินหายใจ
(short-acting) ยาในกลุ่มนี้จะมีระยะเวลาในการออกฤทธิ์ประมาณ 4-6 ชั่วโมง ได้แก่ Terbutaline (Bricanyl®)และ butamol or Albuterol(Ventolin®)
ยากลุ่มเมทิลแซนธีน (Methylxanthines)
สารที่เป็นอนุพันธ์ของ xanthines เช่น caffeine,theophylline, theobromine ปัจจุบันตัวที่นิยมนำมารักษาโรคหอบหืด คือ Theophylline (The-dur® ยาออกฤทธิ์โดยการยับยั้งเอนไซม์ phosphodiesterase (PDE)
ยากลุ่มที่มีฤทธิ์ต้านโคลิเนอร์จิก
นอกจากตัวรับชนิด beta-2 receptor ที่พบบริเวณหลอดลมแล้ว ตัวรับอีกชนิดหนึ่งที่พบได้บริเวณดังกล่าวและทางานตรงข้ามกันคือ muscarinic receptor (เป็นตัวรับในระบบประสาทอัตโนมัติcholinergic nervous system ซึ่งเมื่อกระตุ้นตัวรับชนิดนี้จะทำให้กล้ามเนื้อเรียบของหลอดลมหดตัว
ยากลุ่มคอร์ติโคสเตียรอยด์ (Corticosteroids)
ยากลุ่มยับยั้งการหลั่งสารสื่อจากเซลล์ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการอักเสบได้แก่ Cromolyn sodium (disodium cromoglycate) และNedocromil sodium ยาทั้งสองตัวจะยับยั้งการหลั่งสารสื่อต่างๆ
เกี่ยวข้องกับกระบวนการอักเสบจาก mast cell เช่น leukotrienes,histamine, ยับยั้งการเคลื่อนที่ของเซลล์ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการhistamine, ยับยั้งการเคลื่อนที่ของเซลล์ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการอักเสบและภูมิแพ้ เช่น macrophages, eosinophils (จึงมีประโยชน์ในการรักษาโรคภูมิแพ้และภาวะภูมิคุ้มกันตอบสนองไวกว่าปกติ)
ยาละลายเสมหะ (Mucolytics)
ยาละลายเสมหะ (Mucolytics)เสมหะแยกกันออกเป็นส่วนๆ เสมหะมีความหนืดลดลง ทำให้ถูกขับออกด้วยการไอได้ง่ายขึ้น ตัวอย่างยาในกลุ่มนี้ เช่น bromhexine, ambroxal, acetylcysteine, carbocysteine เป็นต้น
ยาขับเสมหะ (Expectorants) ยาในกลุ่มนี้จะมีกลไกในการออกฤทธิ์โดยการกระตุ้นให้มีการขับเสมหะ เพิ่มการหลั่งสารคัดหลั่งในทางเดินหายใจ ทาให้เสมหะอ่อนตัวลง เพิ่มการพัดโบกของขนเซลล์ในทางเดินหายใจ (cilia) ช่วยขับสิ่งแปลกปลอมหรือ สิ่งที่ก่อให้เกิดอาการระคายเคืองในทางเดินหายใจออกมาด้วย
Nasal Decongestants ยาแก้คัดจมูก Sympathomimetics are used to reduce nasal congestion
ยาแก้แพ้หรือยาต้านฮิสตามิน
เป็นกลุ่มยาที่มีโครงสร้างคล้ายสารฮิสตามีน (Histamine) ที่เมื่อรับประทานยาเข้าไปแล้ว ยาจะเข้าไปจับกับตัวจับกับตัวรับของสารฮิสตามีน (Histamine receptor) ที่อยู่บนผิวของเนื้อเยื่อตามระบบหายใจ เช่น ในโพรงจมูก
จึงทำให้ฮิสตามีนเข้าไปจับกับตัวรับของมันไม่ได้ จึงทำให้ไม่เกิดอาการที่เป็นจึงทำให้ฮิสตามีนเข้าไปจับกับตัวรับของมันไม่ได้ จึงทำให้ไม่เกิดอาการที่เป็นผลจากกระบวนการแพ้ทั้งหลาย ดังนั้น ยากลุ่มนี้จึงนามาใช้รักษาอาการที่เกิดจากกระบวนการแพ้หรือโรคภูมิแพ้นั่นเอง
ประเภทของยาแก้แพ้ หรือ ยาแอนติฮิสตามีน เราแบ่งยาแก้แพ้ ออกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ
กลุ่มที่ 1 ยา แอนติฮิสตามีน กลุ่มง่วง คุณสมบัติของยากลุ่มนี้ คือผ่านเข้าออกสมองได้ดี จึงสามารถจับกับตัวรับฮิสตามีนในสมองได้ มีผลกดระบบประสาท ทำให้เกิดอาการ ง่วงซึม ไม่สดชื่น การตอบสนองต่อสิ่งเร้าต่างๆช้าลง
กลุ่มที่ 2 ยาแอนติฮิสตามีน กลุ่มไม่ง่วงยาไม่ผ่านเข้าสมองจึงไม่กดระบบประสาท ทำให้ไม่ค่อยมีผลง่วงซึม
ยาออกฤทธิ์ยาวนานกว่า 12 ชั่วโมงจนถึงหลายวัน
มีความเจาะจงต่อตัวรับฮิสตามีน สูง
อาการข้างเคียงของแอนติฮิสตามีน
เป็นยาที่จัดว่าค่อนข้างปลอดภัย ไม่ค่อยพบอาการข้างเคียง/ผล ข้างเคียงและอาการที่พบก็ไม่ค่อยรุนแรง ที่พบบ่อยได้แก่
ทาให้ง่วงซึม แอนติฮิสตามีนโดยส่วนใหญ่มักมีฤทธิ์กดระบบประสาท
ยาคลายเครียด และยานอนหลับ
ยาที่มีผลต่อระบบภูมิคุ้มกันโรค
Thalidomide
Thalidomide ใช้รักษามะเร็งได้หลายชนิด เช่น melanoma, multiple myeloma, renal cellและมะเร็งรังไข่ กลไกการออกฤทธิ์เชื่อว่า เกิดจากการยับยั้ง tumor necrosis factor alpha , vascular endothelial growth factor
Lenalidomide
ยา Lenalidomide เป็นยาที่ปรับเปลี่ยนภูมิคุ้มกันตัวใหม่ โดยไม่ต้องใช้วิธีรักษาด้วยคีโมบาบัด
ยารักษาโรคมะเร็งซึ่งมีสรรพคุณการรักษาคล้ายคลึงกับยา thalidomide แต่ผลการศึกษาในห้องวิจัยพบว่ายาดังกล่าวมีความสามารถในการบาบัดมากกว่าและมีอาการข้างเคียงน้อยกว่ายา thalidomide