Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ประวัติศาสตร์การศึกษาภาษาและภาษาศาสตร์ในประเทศไทย, ชื่อ นางสาวแพรขวัญ…
ประวัติศาสตร์การศึกษาภาษาและภาษาศาสตร์ในประเทศไทย
สมัยสุโขทัย
พ่อขุนรามคําแหงมหาราช
ทรงประดิษฐ์อักษรไทยสําหรับเขียนภาษาไทย
จารึกลงหลักศิลา
“ศิลาจารึกหลักที่1”
วรรณคดีเรื่องแรกของไทย
เป็นแม่แบบแก่อักษรไทยน้อย
เป็นแม่แบบให้ อักษรลาว
สมัยอยุธยา
สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
จินดามณี
แต่งโดยโหราธิบดี
ตำราเรียนเล่มแรกของไทย
เนื้อหา
ภาคที่ 1 หลักภาษา
ภาคที่ 2 วิธีการแต่งกาพย์ โคลง และฉันท์
ยุคทองของวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนต้น
สมัยธนบุรี
บ้านเมืองมีศึกสงครามตลอดเวลา
ยากที่จะพัฒนาศิลปะทางภาษา
หลักฐานส่วนใหญ่ศูนย์หายจากการรบ
สมัยรัตนโกสินทร์
ตอนต้น
ตำราเรียนภาษาไทย
ประถม ก กา
ประถมมาลา
ประถมจินดามณี เล่ม 2
สมัยรัชกาลที่ 3
เนื้อหาเน้นเรื่องการแจกลูกตัวสะกด ไตรยางศ์ และการผันเสียงวรรณยุกต์
A Grammar of the Thai
ตําราว่าด้วยไวยากรณ์ไทยหรือหลักภาษาไทยเล่มแรก
ผู้เขียนคือร้อยเอกเจมส์ โลว์ (James Low)
สมัยรัชกาลที่ 5
น้อย อาจารยางกูร
“มูลบทบรรพกิจ”
ประกอบด้วย มูลบทบรรพกิจ วาหนิติกร อักษรประโยค สังโยคพิธาน
ไวพจน์พิจารณ์ และพิศาลการันต์
หนังสือไวยากรณ์เล่มสำคัญ
อักขรวิธี วิริวิภาค
วากยสัมพันธ์ และฉันทลักษณ์
ของกรมศึกษาธิการ
เป็นแม่แบบให้หนังสือสยามไวยากรณ์ / หลักภาษาไทย
นิรุกติศาสตร์
ตํานานของนิรุกติศาสตร์ กําเนิดของคําในภาษา ภาษาและรูปคําของภาษา การแบ่งภาษา เสียงและการกลายเสียงของคําในภาษา
แนวเทียบความหมายและการกลายความหมายของคำในภาษา
พ.ศ.2505 ถึงปัจจุบัน (พ.ศ.2556)
เปลี่ยนจากนิรุกติศาสตร์ เป็นภาษาศาสตร์
บรรจุเป็นวิชาในหลักสูตรอักษรศาสตร์บัณฑิต
มีการศึกษาต่อต่างประเทศมากมาย
ชื่อ นางสาวแพรขวัญ พิมพ์ศรี รหัส 6180107210 ค.บ.ภาษาไทย