Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล
ชนิดของแผลและปัจจัยการหายของแผล
ชนิดของแผล
แบ่งตามสาเหตุ
ผ่าตัด
เรียกว่า surgical wound
เรียกว่า sterile wound
เรียกว่า incision wound
ของมีคมตัด
เรียกว่า cut wound
ของมีคมทิ่มแทง
เรียกว่า stab wound
โดนระเบิด
เรียกว่า explosive wound
ถูกบดขยี้
เรียกว่า crush wound
กระแทกด้วยวัตถุลักษณะมน
เรียกว่า traumatic wound
ถูกยิง
เรียกว่า gunshot wound
แผลขาดกระรุ่งกระริ่ง
เรียกว่า lacerated wound
การถูไถถลอก
เรียกว่า abrasion wound
ติดเชื้อมีหนอง
เรียกว่า infected wound
ตัดอวัยวะบางส่วน
เรียกว่า stump wound
แผลกดทับ
เรียกว่า pressure sore
เรียกว่า bedsore
เรียกว่า decubitus ulcer
เรียกว่า pressure injury
เปลี่ยนแปลงทางกายภาพและเคมี
ไฟไหม้ น้ำร้อนลวก
เคมีที่เป็นด่าง
เคมีที่เป็นกรด
ถูกความเย็นจัด
ไฟฟ้าช็อต
จากรังสี
จากการปลูกผิวหนัง
แบ่งตามลักษณะพื้นผิว
แผลลักษณะแห้ง
แผลลักษณะเปียกชุ่ม
แบ่งตามลำดับความสะอาด
ประเภทที่ 1 แผลผ่าตัดสะอาด
ประเภทที่ 2 แผลสะอาดกึ่งปนเปื้อน
ประเภทที่ 3 แผลปนเปื้อน
ประเภทที่ 4 แผลสกปรก/แผลติดเชื้อ
แบ่งตามระยะเวลาการเกิด
แผลที่เกิดเฉียบพลัน
แผลเรื้อรัง
แผลเนื้อตาย
แบ่งตามการรักษา
วิธีการจัดกระดูกให้อยู่นิ่ง
การรักษาแผลด้วยสุญากาศ
ลดการบวม
เพิ่มปริมาณเลือดมาสู่แผล
กระตุ้นการงอกใหม่
ลดแบคทีเรียในแผล
แผลท่อระบาย
แผลท่อหลอดคอ
แผลท่อระบายทรวงอก
แผลทวารเทียมหน้าท้อง
ปัจจัยการหายของแผล
ปัจจัยเฉพาะที่
แรงกด
ภาวะแวดล้อมแห้ง
การได้รับอันตรายและการบวม
การติดเชื้อ
ภาวะเนื้อตาย
slough
eschar
ความไม่สุขสบาย
ปัจจัยระบบ
อายุ
โรคเรื้อรัง
น้ำในร่างกาย
การไหลเวียโลหิตบกพร่อง
ภาวะกดภูมิคุ้มกันและรังสีรักษา
ภาวะโภชนาการ
โปรตีน
คาร์โบไฮเดรต
เกลือแร่
วิตามิน
น้ำ
ลักษณะและกระบวนการหายของแผล
ลักษณะการหายของแผล
การหายของแผลแบบปฐมภูมิ
ผิวหนังมีการสูญเสียเนื้อเยื่อเพียงเล็กน้อย
การหายของแผลแบบทุติยภูมิ
แผลขนาดใหญ่เนื้อเยื่อถูกทำลาย
การหายของแผลแบบตติยภูมิ
แผลชนิดเดียวกับแผลทุติยภูม
กระบวนการหายของแผล
ระยะ 1: ห้ามเลือดและอักเสบ
ระยะ 2: การสร้างเนื้อเยื่อ
ระยะ 3: การเสริมความแข็งแรง
วิธีการเย็บแผล
Continuous method
เย็บแผลแบบต่อเนื่องตลอดความยาวของแผล
Interrupted method
Simple interrupted method
ดึงรั้งให้ขอบแผลทั้งสองติดกัน
Interrupted mattress method
ตักเข็มเย็บที่ขอบแผลสองครั้ง
Subcuticular method
ใช้เข็มตรงในการเย็บ
Retention method
เย็บรั้งแผลเข้าหากัน
วัสดุที่ใช้ในการเย็บแผล
วัสดุที่ละลายได้เอง
เส้นใยธรรมชาติ
เส้นใยสังเคราะห์
วัสดุที่ไม่ละลายเอง
เส้นใยตามธรรมธรรมชาติ
เส้นใยสังเคราะห์
วัสดุที่เย็บเป็นโลหะ
วิธีการทำแผลชนิดต่างๆ และการตัดไหม
อุปกรณ์ในการทำแผล
สำหรับทำความสะอาดแผล
ชุดทำแผล
สารละลาย
แอลกอฮอล์
น้ำเกลือล้างแผล
เบตาดีน
สำหรับปิดแผล
ผ้าก๊อซ
ผ้าก๊อซหุ้มสำลี
ผ้าซับเลือด
วายก๊อซ
วาสลินก๊อซ
ก๊อซเดรน
แผ่นเทปผ้าปิดแผล
สำหรับยึดติดผ้าปิดแผล
plaster ชนิดธรรมดา
plaster ชนิดพิเศษ
micropore tape
fixomul
อุปกรณ์อื่นๆ
กรรไกตัดไหม
วิธีการทำแผลชนิดต่างๆ
การทำแผลผ่าตัดแบบแห้ง
เปิดแผลโดยใช้มือ (ใส่ถุงมือ)
เปิดชุดทำแผล (ตามหลักกำรของ IC)
หยิบ non-tooth forceps ใช้คีบส่งของ
หยิบ tooth forceps ใช้รับของ
หยิบสำลีชุบ alcohol 70% เช็ดรอบๆ
สำลีชุบ 0.9% NSS เช็ดจากบนลงล่างจนแผลสะอาด
ทำแผลด้วย antiseptic solution
ปิดแผลด้วย gauze ติดพลาสเตอร์ตามแนวขวาง
การทำแผลผ่าตัดแบบเปียก
เปิดแผลโดยใช้มือ (ใส่ถุงมือ)
ทำความสะอาดริมขอบแผล
ใช้สำลีชุบน้ำเกลือหรือน้ำยาเช็ดภายในแผลจนสะอาด
ใช้ผ้า gauze ชุบน้ำยาใส่ในแผล
ปิดแผลด้วยผ้า gauze
การทำแผลผ่าตัดที่มีท่อระบาย
หยิบสำลีชุบ alcohol70%เช็ดผิวหนังรอบ
ท่อระบายวนจากในออกนอกแบบครึ่งวงกลม
ใช้สำลีชุบ NSS เช็ดตรงกลางแผล
ใช้สำลีชุบ alcohol 70% เช็ดท่อระบายจากเหนือแผล
พับครึ่งผ้า gauze วางสองข้างของท่อระบาย
การตัดไหม
วิธีการตัดไหม
ใช้ alcohol 70% เช็ดรอบแผล
ชนิด interrupted method
ใช้ไหมผูกเป็นปมแยกเป็นอัน ๆ
เห็นไหมใต้ปมโผล่พ้นผิวหนังขึ้นมา และสอดปลายกรรไกร
ตัดไหมส่วนที่อยู่ชิดผิวหนังซึ่งอยู่ใต้ปมที่ผูกแล้วดึงไหมในลักษณะดึงเข้าหาแผล
ชนิด interrupted mattress
ตัดไหมส่วนที่มองเห็นและอยู่ชิดผิวหนังมากที่สุด
continuous method
ตัดไหมส่วนที่อยู่ชิดผิวหนังด้านตรงกันข้ามกับปมที่ผูกอันแรกและอันถัดไปด้านเดิม
ใช้ลวดเย็บเป็นวัสดุเย็บแผล
ตัดลวดเย็บแผลต้องใช้เครื่องมือตัด เรียกว่ำ “removal staple”
หลังตัดไหมเช็ดแผลด้วย normal saline 0.9%และเช็ดให้แห้งอีกครั้ง
วิธีการพันแผลชนิดต่างๆ
ชนิดผ้าพันแผล
ชนิดผ้าสามเหลี่ยม
ผ้าพันแผลชนิดม้วน
ผ้าพันแผลชนิดพิเศษ
หลักการพันแผล
ผู้พันผ้าและผู้บาดเจ็บหันหน้าเข้าหากัน
พันผ้าผิวหนังบริเวณนั้นต้องสะอาดและแห้ง
ควรระวังใช้น้ำหนักให้เหมาะสม
ต้องทำความสะอาดบาดแผล และปิดผ้าปิดแผลให้เรียบร้อยก่อน
ตำแหน่งที่บาดเจ็บ
การพันผ้าบริเวณเท้า ขา ตะโพก ต้องมีผู้ช่วยคอยประคองอวัยวะส่วนนั้นไว้
การพันผ้าใกล้ข้อ โดยคำนึงถึงการขยับเคลื่อนไหว
การพันผ้าแบบชนิดม้วน
การพันแบบวงกลม
การพันแบบเกลียว
การพันแบบเกลียวพับกลับ
การพันเป็นรูปเลข 8
การพันแบบกลับไปกลับมา
ปัจจัยที่ทำให้เกิดแผลกดทับ
ระยะของแผลกดทับและการป้องกันแผลกดทับ
ปัจจัยส่งเสริมการเกิดแผลกดทับ
ปัจจัยภายในร่างกาย
อายุ
ภาวะโภชนาการ
ยาที่ได้รับการรักษา
การผ่าตัด
ปัจจัยภายนอกร่างกาย
แรงกด
แรงเสียดทาน
แรงเฉือน
ความชื้น
ระยะของแผลกดทับ
ระดับที่ 1
ผิวหนังแดงไม่มีการฉีกขาด
ระดับที่ 2
ผิวหนังแดงเริ่มมีแผลเล็กๆ
ระดับที่ 3
แผลลึกถึงชั้นไขมัน
ระดับที่ 4
แผลลึก
การป้องกันการเกิดแผลกดทับ
การประเมินความเสี่ยง
การเฝ้าระวังความเสี่ยง
ลดปัจจัยเสี่ยง
ให้การดูแลช่วยเหลือและคำแนะนำทั่วไป
การดูแลและคำแนะนำเรื่องอาหารและโภชนาการ
การดูแลและคำแนะนำเรื่องยาที่ใช้ในการรักษา
การดูแลและคำแนะนะสำหรับผู้ป่วยที่ต้องใช้อุปกรณ์
การดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยที่มีปัญหาการขับถ่ายปัสสาวะหรืออุจจาระ
กระบวนการพยาบาลในการพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล
การปฏิบัติการพยาบาลแบบองค์รวม
ด้านร่างกาย
ประเมินประเภทแผลและขั้นตอนการหาย
ทำแผล dry dressing OD ด้วยวิธี aseptic technique
แนะนำผู้ป่วยรับประทานอาหารที่มีวิตามินซีสูง
ให้ผู้ป่วยได้รับน้ำอย่างน้อยวันละ 2,000 มิลิลิตร
แนะนำไม่ให้แผลเปียกน้ำ
ช่วยทำความสะอาดร่างกายบางส่วน
จัดสิ่งแวดล้อมสถานที่ให้สะอาด
จัดท่านอนศีรษะสูงเพื่อช่วยลดอาการตึงของกล้ามเนื้อ
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ติดตามอาการข้างเคียง
ลงบันทึกทางการพยาบาล
ด้านจิตใจ
การพยาบาลแบบองค์รวม
การพยาบาลแบบเอื้ออาทร
การพยาบาลด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์
การพยาบาลด้วยน้ำใจไมล์ที่สอง
ด้านสังคม
ด้านจิตวิญญาณ
ขณะนอนพักบนเตียงให้ฟังเพลงหรืออ่านหนังสือ
แนะนำให้สวดมนต์ทำสมาธิก่อนนอน
แนะนำให้ทำใจปล่อยวาง
การประเมินผล
การพยาบาล
ประเมินการหายของแผล
ประเมินอาการแทรกซ้อน
ประเมินสัญญาณชีพ
ประเมินความสุขสบายของผู้ป่วย
ประเมินความพึงพอใจ
ประเมินความประทับใจในการบริการพยาบาล
ผลกิจกรรมการพยาบาล
ประเมินการปฏิบัติการพยาบาลตามแผนที่วางไว
ประเมินการจัดเตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้
คุณภาพการบริการ