Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล
แผล
ชนิดของแผลและปัจจัยการส่งเสริมการหายของแผล
ชนิดของแผล
1.ชนิดของแผลแบ่งตามสาเหตุ (Type of wound)
แผลที่เกิดจากการถูกยิง เรียก gunshot wound
แผลที่มีขอบแผลขาดกระรุ่งกะริ่ง เรียก lacerated wound
6.แผลที่เกิดจากการกระแทกด้วนวัตถุลักษณะมน เรียก traumatic wound เช่น แผลของอวัยวะภายในช่องท้องถูกกระแทกจากพวงมาลัยรถยนต์ขณะเกิดอุบัติเหตุ
แผลที่เกิดจากการถูไถลถลอก เรียก abrasion wound
5.แผลที่เกิดจากถูกบดขยี้ เรียก crush wound เช่น แผลถูกเครื่องบดนิ้วมือ เป็นต้น
แผลที่เกิดจากการติดเชื้อมีหนอง เรียก infected wound
4.แผลที่เกิดจากโดนระเบิด เรียก explosive wound
แผลที่เกิดจากการตัดอวัยวะบางส่วน เรียก stump wound เข่น แผลตัดเหนือเข่า
3.แผลที่เกิดจากถูกของมีคมทิ่มแทง เรียก stab wound หรือ peneturating wound เช่น แผลถูกแทงด้วยมีด หรือแผลจากการเหยียบตะปู เป็นต้น
แผลที่เกิดจากการกดทับ เรียก pressure sore, bedsore, decubitus ulcer, pressure injury
2.แผลที่เกิดจากถูกของมีคมตัด เรียก cut wound เช่น แผลจากโดนมีดฟัน หรือถูกเศษแก้วบาด เป็นต้น
แผลที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและเคมี
13.3 จากสารเคมีที่เป็นกรด
13.4 จากถูกความเย็นจัด
13.2 จากสารเคมีที่เป็นด่าง
13.5 จากไฟฟ้าช็อต
13.1 จากไฟไหม้ น้ำร้อนลวก
13.6 จากรังสี
1.แผลที่เกิดจากการผ่าตัด เรียก surgical wound , sterile wound หรือ incision wound
2.ชนิดแผลแบ่งตามลักษณะพื้นผิว
1.แผลลักษณะแห้ง (dry wound) มีขอบแผลติดกัน ติดเองหรือเย็บ ไม่มีสารคัดหลั่ง
แผลลักษณะเปียกชุ่ม (wet wound) แผลไม่ติดกัน ขอบกว้าง มีสารคัดหลั่ง
3.ชนิดของแผลตามลำดับความสะอาด
ประเภทที่2 แผลสะอาดกึ่งปนเปื้อน ผ่าตัดระบบทางเดินหายใจม ระบบทาเดินอาหารม ทางเดินปัสสาวะม ผ่าตัดท่อน้ำดี อัตราการเสี่ยงต่อการติดเชื้อ 5-15 เปอร์เซ็น
ประเภทที่ 3 แผลปนเปื้อน แผลที่เกิดจากอุบัติเหตุ แผลสด แผลเปิด สารคัดหลั่งจากระบบทางเดินอาหาร แผลอักเสบเฉียบพลัน แผลถูกแทง ถูกยิง อัตราการติดเชื้อมากกว่าหรือเท่ากับ 15 เปอร์เซ็น
ประเภทที่ 1 แผลผ่าตัดสะอาด ไม่ติดเชื้อ ไม่มีการอักเสบมาก่อนม ไม่มีการแทงทะลุฉีกขาด เป็นแผลผ่าตัดขนิดปิด อัตราการติดเชื้อ น้อยกว่าหรือเท่ากับ 2เปอร์เซ็น
ประเภทที่ 4 แผลสกปรกแผลติดเชื้อ ลักษณะแผลเก่า แผลมีเนื้อตาย แผลมีการติดเชื้อมาก่อน เช่น แผลไส้ติ่งแตก เยื่อหุ้มช่องท้องอักเสบ อัตราการติดเชื้อ มากก่าหรือเท่ากับ 30เปอร์เซ็น
4.ชนิดของแผลแบ่งตามระยะเวลาการเกิด
แผลเรื้อรัง (chronic wound) เกิดระยะเวลานาน รักษายาก หรือใช้เวลารักษานาน
แผลเนื้อตาย (gangrene wound) เกิดจาการขาดเลือดไปเลี้ยงหรือมาเลี้ยงไม่เพียงพอ เช่น เบาหวานที่มีลักษณะสีดำและมีกลิ่นเหม็น
แผลที่เกิดเฉียบพลัน ( acute wound ) รักษาให้หายในระยะสั้น เช่นจากการผ่าตัด
5.ชนิดของแผลแบ่งตามการรักษา
3.แผลท่อระบาย เป็นแผลผ่าตัดซึ่งศับยแพทย์เจาะผิวหนังเพื่อใส่ท่อระบายของเสียจากการผ่าตัดเป็นท่อระบายปิด
4.แผลท่อหลอดคอ ทำการผ่าตัดเปิดหลอดลม เพื่อใส่ท่อช่วยหายใจ
การรักษาแผลด้วยสุญญากาศ รักษาแผลที่มีเนื้อตาย เพื่อช่วยให้แผลหายเร็วขึ้น
5.แผท่ระบายทรวงอก แพทย์ทำการเจาะปอด เพื่อระบายของเสียออกจากปอด
การรักษาผู้ป่วยศัยกรรมกระดูกด้วยวิธีการจัดกระดูกให้อยู่นิ่ง ดามกระดูกด้วยเหล็ก
6.แผลทวารเทียมหน้าท้อง ผ่าตัดเปิดลำไส้ใหญ่ออกทางหน้าท้อง เพื่อระบายอุจจาระ
การหายของแผล
ปัจจัยที่มีผลต่อการหายของแผล
ปัจจัยเฉพาะที่ (Local factors)
1.1 แรงกด การนอนในท่าเดียวนานๆ ทำให้เลือดไหลเวียนไม่สะดวก เกิดเป็นรอยแดง อาจเกิดการลุกลามได้
1.2 ภาวะแวดล้อมแห้ง แผลขาดน้ำเกิดเป็นสะเก็ด ปกคลุมแผลขัดขวางการหายของแผล
1.3 การได้รับอันตรายและอาการบวม
1.6 ความไม่สุขสบาย ปัสสาวะอุจจาระกระปิดกระปอย
1.4 การติดเชื้อ ทำให้แผลหายช้า
1.5 ภาวะเนื้อตาย มีแบบเปียก สีเหลือง และแบบหนาน เหนียว
2.ปัจจัยระบบ (Systemic factors)
2.3 น้ำในร่างกาย ผู้ป่วยอ้วนการหายของแผลค่อนข้างช้า
2.4 การไหลเวียนของโลหิตบกพร่อง โดยเฉพาะแผลเบาหวาน แผลกดทับ แผลจะหายช้า
2.2 โรคเรื้อรัง โรคที่มีผลต่อการหายของแผล
2.5 ภาวะกดภูมิคุ้มกันและรังสีรักษา อันเนื่องมาจากโรค หรือยาที่ทำให้แผลหายช้า
2.1 อายุ คนที่มีอายุน้อยบาดแผลจะหายเร็วกว่าคนที่มีอายุมาก
2.6 ภาวะโภชนาการ สารอาหารที่จำเป็นต่อการหายของแผล โปรตีน คาร์โบไฮเดรต เกลือแร่ วิตามิน น้ำ
ลักษณะการหายของแผล
2.แบบทุติยภูมิ แผลขนาดใหญ่เนื้อเยื่อถูกทำลาย มีการสุญเสียเนื้อเยื่อบางส่วน
แบบตติยภูมิ เผมือนกับทุติยภูมิ เมื่อทำการรักษาก็จะมีเนื้อเยื่อให้ขึ้นมาปกคลุม
1.แบบปฐมภูมิ ผิวหนังมีการสูญเสียเนื้อเยื่อเพียงเล็กน้อย
กระบวนการหายของแผล
ระยะที่ 2 การสร้างเนื้อเยื่อ
ระยะที่ 3 การเสริมความแข็งแรง
ระยะ 1 ห้ามเลือดและอักเสบ
การบันทึกลักษณะบาดแผล
3.ขนาด ควรระบุเป็นเซนติเมตร
สี เช่น แดง หรือ ดำ หรือ ปนกัน
2.ตำแหน่ง/บริเวณ เช่น ตำแหน่ง RLQ
ลักษณะผิวหนัง เช่น ผื่น เปียกแฉะ ตุ่มน้ำพองใส
ชนิดของบาดแผล เช่น แผลผ่าตัด
ขั้นหรือระยะความรุนแรงของบาดแผล เช่น แผลกดทับขั้น 4
สิ่งที่ปกคลุมบาดแผลหรือสารค้ดหลั่ง เช่น หนอง สารตัดหลั่งเหนียวคลุมแผล
วิธีการทำแผล
วิธีการเย็บแผลและวัสดุที่ใช้ในการเย็บแผล
วัตถุประสงค์ของการเย็บแผล
3.ส่งเสริมการหายของแผล
ป้องกันไม่ให้เชื้อโรคเข้าไปในแผล
ดึงขอบแผลเข้าหากัน
รักษาสภาพปกติของผิวหนัง
1.ห้ามเลือด
วิธีการเย็บแผล
2.Interrupted method เป็นการเย็บที่ต้องตัดวัสดุเย็บแผลในทุกฝีเข็ม
2.1 Simple interrupted method เย็บแบบดึงให้รั้งขอบแผลทั้งสองติดกัน
2.2 Interrupted mattress method เย็บโดยการตักเข็มเย็บที่ของผลสองครั้ง เหมาะกับแผลที่ลึกและยาว
Subcuticular method เป็นการเย็บแผลแบบ Continuous method แต่ใช้เข็มตรงในการเย็บ
1.Continuous method เย็บแผลต่อเนื่องตามความยาวของแผลหรือความยาวของวัสดุเย็บ โดยไม่มีการตัดจนกว่าจะสิ้นสุดการเย็บ
4.Retention method (Tension method) เป็นวิธีการเย็บรั้งแผลเข้าหากัน เพื่อพยุงแผลในกรณีผุ้ป่วยที่มีชั้นไขมันหน้าท้องหนา
วัสดุที่ใช้ในการเย็บแผล
วัสดุที่ละลายได้เอง
1.เส้นใยธรรมชาติ ได้แก่ Catgut ทำมาจาก collagen ใน submucosa ของลำไส้แกะหรือวัว
2.เส้นใยสังเคราะห์ เช่น polyglycolic acid (dexon), polyglycan (vicryl) และ polydioxanone (PDS)ส่วน plain catgut ละลายได้เร็ว 5- 10 วัน
วัสดุที่ไม่ละลายเอง
1.เส้นใยตามธรรมชาติ เช่น ไหมเย็บแผลราคาถูก ผูกปมง่ายและไม่คลายง่าย
2.เส้นใยสังเคราะห์ เช่น nylon เส้นนี้มีความแข็งแรงมากกว่าไหมเย็บแผลแต่ผูกปมยากและคลายได้ง่าย
3.วัสดุที่เย็บเป้นโลหะ เช่น ลวดเย็บ วัสดุเย็บแผลสำเร็จรูป แต่ต้องมีเครื่องมือสำหรับใส่ลวดเย็บ
วิธีการทำแผล
วัตถุประสงค์
ป้องกันไม่ให้ผ้าปิดแผลติดและดึงรั้งเนื้อเยื่อที่งอกใหม่
ป้องกันแผลหรือเนื้อเยื่อที่เกิดใหม่จากสิ่งกระทบกระเทือน
ให้ความชุ่มชื้นกับพื้นผิวของแผลอยู่เสมอ
ป้องกันแผลปนเปื้อนเชื้ออุจจาระปัสสาวะสิ่งสกปรกอื่นๆ
จำกัดการเคลื่อนไหวของแผลให้หยุดนิ่ง
8.เป็นการห้ามเลือด
ดูดซึมสารคัดหลั่งอเช่น เลือด น้ำเหลือง หนอง
ช่วยให้ผุ้ป่วยรู้สึกสุขสบาย
1.ให้สภาวะที่เหมาะสมแก่การงอกของเนื้อเยื่อ
ชนิดของการทำแผล
1.การทำแผลแบบแห้ง แผลที่ไม่ต้องใช้ความชุ่มชื้นในการหายของแผล ใช้ทำความสะอาด แผลปิด แผลที่ไม่อักเสบเป็นแผลเล็กไม่มีสารคัดหลั่ง
2.การทำแผลแบบเปียก การทำแผลที่ต้องใช้ความชุ่มชื้นในการหายของแผล ใช้ทำแผลเปิด แผลอักเสบติดเชื้อ แผลที่มีสารคัดหลั่งมาก
อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำแผล
อุปกรณ์ทำความสะอาดแผล
สารละลาย ได้แก่ แอลกอฮอล์ น้ำเกลือล้างแผล เบตาดีน
1.1 ชุดทำแผล ที่ปราศจากเชื้อ คือปากคีบไม่มีเขี้ยวแปากคีบมีเขี้ยว ถ้วยใส่สารละลายอสำลี และ gauze
2.วัสดุสำหรับปิดแผล
วาสลินก๊อซ ชุบวาสลิน ปิดแผลเพื่อไม่ให้อากาศเข้าสู่แผล
ก๊อซเดรน เป้นสายยาว ใช้แผลที่มีโพรงขนาดเล็ก
วายก๊อซ ผ้าก๊อซที่ตัดตรงกลางเป็นรูปตัววาย ปิดแผลที่ใส่ท่อระบายสารคัดหลั่ง
transparent film เป็นพลาสเตอร์กันน้ำที่มี gauze สำเร็จรูป เป็นแผ่นฟิล์มโปร่งใส มีรูเล็กๆให้อากาศซึมผ่านจากภายนอกเข้าสู่แผล
แผ่นเทปผ้าปิดแผล เป็นแผ่นปิดสำเร็จรุป มี gauze และแผ่นเทปพร้อมใช้
antibacterial gauze dressing เป็น gauze ปิดแผลชุบด้วยพาราฟิน และ ยาปฏิชีวนะ
ผ้าซับเลือด ปิดแผลขนาดใหญ่ที่มีสารคัดหลั่งจำนวนมาก
ผ้าก๊อซหุ้มสำลี ปิดแผลที่มีสารคัดหลั่งมาก
ผ้าก๊อซ ใช้สำหรับสารคัดหลั่งน้อย
วัสดุสำหรับยึดติดผ้าปิดแผล transpore เพราะง่าย และสะดวก แต่ระคายเคืองผิวหนัง ผุ้ที่ผิวแพ้ง่ายควร ใช้ plaster ชนิดพิเศษ เช่น micropore tape, fixomull ไม่ระคายเคืองผิวหนัง หรือใช้ก๊อซพันแผล หรือผ้าพันแผลชนิดยืด ใช้กดรัดห้ามเลือด
อุปกรณ์ อื่นๆ เช่น กรรไกรตัดไหม กรรไกรตัดเชื้อเนื้อ ช้อนขูดเนื้อตาย อุปกรณ์วัดคสามลึกของแผล
ภาชนะสำหรับทิ้งสิ่งสกปรก เช่น ชามรูปไต ถุงพลาสติก
วิธีการทำแผล
วิธีการทำแผลผ่าตัดแบบแห้ง (Dry dressing)
5.หยิบสำลีชุบ alcohol 70 เปอร์เซ็น เช็ดรอบๆแผลวนจากในออกนอกห่างแผล 1 นิ้วเป็นบริเวณกว้าง 2 นิ้ว
หยิบสำลีชุบ 0.9 เปอร์เซ็น NSS เช็ดจากบนลงล่างจนแผลสะอาดแล้วเช็ดด้วยสำลีแห้ง
หยิบ tooth forceps ใช้รับของ
ทาแผลด้วย antiseptic solution ตามแผนการรักษา
หยิบ non-tooth forceps ใช้คีบส่งของ
ปิดแผลด้วย gauze ติดพลาสเตอร์ตามแนวขวางของลำตัว
เปิดชุดทำแผล ตามหลัก IC
เก็บอุปกรณ์ ถอดถุงมือ ถอดหน้ากากอนามัย และล้างมือ ทิ้งขยะในถังขยะติดเชื้อทุกครั้ง
เปิดแผลโดยใช้มือ (ใส่ถุงมือ) ปิดแผลโดยพับส่วนที่สัมผัสแผลทิ้งในชามรูปไต หรือถุงพลาสติก
วิธีการทำแผลแบบเปียก
ใช้สำลีชุบน้ำเกลือหรือน้ำยาตามแผลการรักษาเช็ดภายในแผลจนสะอาด
ใช้ผ้า gauze ชุบน้ำยา ใส่ในแผล เพื่อฆ่าเชื้อและดูุดซับสารคัดหลั่งให้ความชุ่มชื่นแก่เนื้อเยื่อ
ทำความสะอาดดริมของแผลเช่นเดัยวกับ dry dressing
ปิดแผลด้วยผ้า gauze และปิดพลาสเตอร์ตามแนวขวางของลำตัว
เปิดแผลโดยใช้มือ ใส่ถุงมือ เปิดชุดทำแผลแบบ IC หยิบผ้าปิดแผลส่วนบนทิ้งในชามรูปไต เปิดผ้าที่ติดกับแผลด้วย tooth forceps
การทำแผลผ่าตัดที่มีท่อระบาย
ใช้สำลีชุบ NSS เช็ดตรงกลางแผลท่อระบาย แล้วเช็ดด้วยสำลีแห้ง
4.ใช้สำลีชุบ alcohol 70 เปอร์เซ็น เช็ดท่อระบายจากเหนือแผลออกมาด้านปลายท่อระบายเช้ดด้วยสำลีแห้ง
2.ใช้ non-tooth forceps หยิบสำลีชุบ alcohol 70 เปอร์เซ็น
กรณี Penrose drain และแพทย์มีแผนการรักษาให้ตัดท่อสั้น
การเตรียมเครื่องใช้ในการทำแผล เช่นเดียวกับการทำแผลแบบแห้ง
พับครึ่งผ้า gauze วางสองข้างท่อระบายแล้ววางผ้า gauze ปิดทับท่อระบายอีกชั้น และปิดพลาสเตอร์ให้เรียบร้อย
หลังทำแผลเสร็จจัดท่าให้ผุ้ป่วยนอนสบาย ดูแลสภาพแวดล้อม พยาบาลต้องให้คำแนะนำในการปฏิบัติตัวเกี่ยวกับการดูแลตนเองให้ผู้ป่วย
การตัดไหม
หลักการตัดไหม
เศษไหมที่เย้บแผลส่วนที่มองเห็นเป็นส่วนที่มีการสัมผัสเชื้อแบททีเรียที่อาศัยอยู่ตามผิวหนังเวลาตัดควรตัดออกให้หมดไม่ให้ไหมติดค้างอยู่ใต้ผิวหนัง
ขณะตัดไหมหากพบขอบแผลแยกให้หยุดืำ แลพปิดแผลด้วยวัสดุที่ช่วยดึงรั้งให้ขอบแผลติดกัน
1.ตรวจสอบำสั่งจากแพทย์ทุกครั้งว่ามีจุดประสงค์ให้ตัดไหมทุกอันหรืออันเว้นอัน
วิธีทำการตัดไหม
การตัดไหมที่เย็บแผล โดยใช้ไหมผูกเป็นปมเป็นอันๆชนิดสองชั้น ให้ตัดส่วนที่มองเห็นและชิดผิวหนังมากที่สุด
การตัดไหมที่เย็บแผลแบบต่อเนื่อง ให้ตัดส่วนที่อยุ่ชิดผิวหนังด้านตรงกันข้ามกับปมที่ผูกอันแรกและอันถัดไปด้านเดิม
ตัดไหมที่เย็บแผล โดยใช้ไหมผูกเป็นปมแยกเป็นอันๆ
กรณีที่ใช้ลวดเย็บเป็นวัสดุเย็บแผล ทำความสะอากแผลตามปกติ การตัดลวดเย็บแผลต้องใช้เครื่องมือตัด
ทำความสะอากแผล เช้ดรอบแผล เช้ดรอยพลาสเตอร์ออกด้วยเบตาดิน และเช้ดออกด้วยแอลกอฮอล์ 70 เปอร์เซ็น และน้ำเกลือล้างแผล เช็ดให้แห้ง
ภายหลังตัดไหมครบทุกเส้นแล้วเช็ดแผลด้วย normal saline 0.9 เปอร์เซ็นและเช็ดให้แห้งอีกรอบ ปิดแผลต่อไว้อีก 1 วัน
วิธีการพันแผลชนิดต่างๆ
วัตถุประสงค์
ช่วยพยุงผ้าปิดแผลให้อยู่กับที่
ให้ความอบอุ่นในบริเวณนั้นๆ
ใช้เป็นแรงกดป้องกันเลือดไหล
ช่วยให้อวัยวะคงที่ และพยุงอวัยวะ
ป้องกันการติดเชื้อ
รักษารูปร่างของอวัยวะให้พร้อมที่จะใส่อวัยวะเทียม
ชนิดของผ้าพันแผล
ผ้าพันแผลชนิดม้วน (roller bandage) เป้นม้วนกลม ชนิดไม่ยืด และชนิดยืด
ผ้าพันแผลชนิดพิเศษ (special bandage) เป็นผ้าที่มีรูปร่างแตกต่างกันไป เช่น ผ้าพันท้องหลายหาง
ผ้าสามเหลี่ยม (triangular bandage) เป็นผ้าสามเหลี่ยมเนื้อละเอียดไม่ระคายเคืองต่อผิวหนัง
หลักการพันแผล
ทำความสะอาดแผล ปิดผ้าปิดแผลให้เรียบร้อยก่อนแล้วค่อยพันผ้า
ตำแหน่งที่บาดเจ็บ เช่น นิ้วมือ นิ้วเท้า ต้องใช้ผ้าก๊อซคั่นระหว่างนิ้วก่อน ป้องกันการเสียดสีของผิวหนัง
ใช้น้ำหนักมือในการพันผ้าให้เหมาะสม
การพันผ้าบริเวณเท้า ขา ตะโพก ต้องมีผู้ช่วยประคอง
ตำแหน่งที่ต้องการพันผ้าผิวหนังบริเวณนั้นต้องสะอาดแะแห้ง
การพันผ้าใกล้ข้อ ต้องพันผ้าโดยคำนึงถึงการเคลื่อนไหวของข้อนั้นด้วย
ผู้พันและผู้บาดเจ็บหันหน้าเข้าหากัน อวัยวะที่จะพันผ้าทำให้รูสึกผ่อนคลาย
วิธีการพันแผล
1.การใช้ผ้าสามเหลี่ยม มุมยอดเป็นมุมฉาก ขนาดขึ้นอยู่กับตัวผู้ป่วย
การใช้ผ้าพันแผลชนิดม้วน มีหลักการพันผ้า ได้แก่ พันจากส่วนที่เล็กไปหาส่วนที่ใหญ่ พันเข้าหาตัวผู้ป่วย
การพันผ้าแบบชนิดม้วน
การพันแบบเกลียว ( spiral turn) สำหรับพันอวัยวะทรงกระบอก เช่น ขา แขน นิ้วมือ นิ้วเท้า
การพันแบบเกลียงพับกลับ (spiral reverse) เหมาะกับอวัยวะที่เป็นทรงกระบอก การพันแบบนี้ใช้พันเมื่อต้องการความอบอุ่นหรือต้องการแรงกด
การพันแบบวงกลม (circular turn) สำหรับพันอวัยวะทรงกระบอก เช่น ขา แขน นิ้วมือ นิ้วเท้า
การพันแบบรุปเลข 8 (figure of eight) พันบริเวณข้อพับ เช่น ศอก เข่า ข้อเท้า
5.การพันแบบกลับไปกลับมา (recurrent) พันเพื่อยึกผ้าปิดแผลที่ศีรษะ หรือแผลที่เกิดจากการถูกตัดแขน ขา เพื่อบรรเทาอาการปวดและบวม
ปัจจัยที่ทำให้เกิดแผลกดทับ ระยะของแผลกดทับและการป้องกันแผลกดทับ
พยาธิสภาพของการเกิดแผลกดทับ แรงกดหลอดเลือดฝอยเท่ากับ 25 มม.ปรอท แรงกดนานๆจะทำให้เนื้อเยื่อขาดออกซิเจนเนื่งจากโลหิตมาเลี้ยงไม่ได้ แรงกดขนา 32 มม.ปรอท สามารถทำให้เกิดแผลกดทับได้ ผู้ป่วยมี่ไม่สามารถเคลื่อนไหวเองได้มีแรงกดทับ 100 มม.ปรอท
ปัจจัยส่งเสริมการเกิดแผลกดทับ
1.ปัจจัยภายในร่างกาย
1.2 ภาวะโภชนาการ ผู้ป่วยที่ได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ จนระบบ albumin ในเลือดน้อยกว่า 3.5 mg เปอร์เซ็น มีโอกาศเสี่ยงต่อแผลกดทับ
1.3 ยาที่ได้รับการรักษา ได้แก่ ยาขับปัสสาวะ ยาระบาย ยาคลายกล้ามเนื้อ ยาระงับประสาท
1.1 อายุ ร้อย 70 เปอร์เซ็นเกิดในผู้สุงอายุ 60 ปีขึ้นไป
1.4 การผ่าตัด คนที่ใช้เวลานานกว่า 3 ชั่วโมง มีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับ
2.ปัจจัยภายนอกร่างกาย
2.2 แรงเสียดทาน เกิดระหว่างผิวชั้นนอกและพื้นผิวสัมผัสกัน
2.3 แรงเฉือน แรงดึงรั้งระหว่างชั้นผิวหนังกับแรงโน้มถ่วงของโลกและแรงต้านทำให้ผิวหนังอยู่กับที่
2.1 แรงกด สาเหตุปริมานแรงกดน้อยแต่ระยะเวลาอาจทำให้เกิดแผลกดทับได้
2.4 ความชื้น เกิดจากสารคัดหลั่งของผู้ป่วยเอง ทำให้ความต้านทานต่อแรงกดลดงจะเกิดแผลกดทับได้ง่าย
ระยะของแผลกดทับ
การประเมินความรุนแรงของแผลกดทับ
ระดับที่ 2 ผิวหนังแดงเริ่มมีแผลเล็กๆ หนังแท้ถุกทำลายฉีกขาดเป็นแผลตื้น มีรอยแดงบริเวณเนื้อเยื่อรอบๆ เริ่มมีสารคัดหลั่งจากแผล
ระดับที่ 3 แผลลึกถึงชั้นไขมัน แต่ไม่ถึงชั้นกล้ามเนื้อ มีรอยแผลลึก มีสิ่งขับจากแผล เริ่มมีกลิ่นเหม็นแต่ไม่มีเนื้อตาย
ระดับที่ 1 ผิวหนังแดงไม่มีการฉีกขาดของผิวหนังและไม่จางหายภายใน 30 นาที
ระดับที่ 4 แผลลึก เป็นโพรงถึงกล้ามเนื้อ กระดูก และเยื่อหุ้มข้อ พบมีเนื้อตาย
บริเวณที่อาจเกิดแผลกดทับได้ง่าย
ท่านอนคว่ำ เกิดบริเวณ ใบหูและแก้ม หน้าอกและราวนม หน้าท้อง หัวไหล่ สันกระดูกตะโพก หัวเข่าปลายเท้า
ท่านอนตะแคง เกิดบริเวณ ศีรษะด้านข้าง หัวไหล่ กระดูกก้น ปุ่มกระดูก ต้นขา ฝีเย็บ หัวเข่าด้านหน้า ตาตุ่ม
1.ท่านอนหงาย บริเวรท้ายทอย ใบหู หลังส่วนบน ก้นกบ ข้อศอก ส้นเท้า
ท่านั่ง เกิดบริเวณ ก้นกบ ปุ่มกระดูกก้น หัวเข่าด้านหลัง กระดูกสะบักเท้า ข้อเท้าด้านนอก
การป้องกันการเกิดแผลกดทับ
การประเมิน
1.ประเมินความเสี่ยงตามแบบประเมินความเสี่ยงของการเกิดแผลกดทับ
2.ความชื้น
3.การทำกิจกรรม
1.การรับคสามรู้สึก
4.สภาพอันเคลื่นที่ได้
5.ภาวะโภชนาการ
6.การเสียดสีพื้นผิว
การแปลผล
13 หรือ 14 คะแนน มีความเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับ ระดับปานกลาง
12 หรือ น้อยกว่า มีความเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับ ระดับสูง
15 หรือ 16 คะแนน มีความเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับ ระดับต่ำ
การเฝ้าระวัง
มีการผ่าตัดนานกว่า 3 ชั่วโมง
ผู้ป่วยได้รับยาแก้ปวดยาระงับชัก ยาสเตอรอย
การใส่อุปกรณ์ทางการแพทญืที่ทำให้ผู้ป่วยเคลื่อนไหวลดลง
4.ผู้ป่วยที่ไม่สามารถควบคุมการขับถ่ายได้
5.ผู้ป่วยที่มีไข้สูงมีเหงื่อออกมาก
6.ผู้ป่วยที่มีระดับความรู้สึกลดลง
7.ผู้ป่วยที่มีภาวะพร่องดภชนาการ
ลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับ
3.การดูแลและคำแนะนำเรื่องยาที่ใช้ในการรักษา
4.การดุแลและให้คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยที่ต้องใช้อุปกรณ์
2.การดูแลและคำแนะนำเรื่องอาหารและโภชนาการ
5.การดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยที่มีปัญหาการขับถ่ายปัสสาวะหรืออุจจาระ
1.ให้กราดูแลช่วยเหลือและให้คำแนะนำ
กระบวนการพยาบาลในการพยาบาผู้ป่วยที่มีแผล
1.การประเมินภาวะสุขภาพ
2.ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
3.การปฏิบัติการทางการพยาบาล
การประเมินผล
กระบานการพยาบาลในการดูแลผุ้ป่วยที่มีแผลกดทับ
3.การวางแผนทางการพยาบาล
4.การให้การพยาบาลตามแผนการพยาบาลที่วางไว้ การจัดท่าทาง การใช้อุปกรณ์ กดแรงกด การจัดโปรแกรมการให้ความรู้
การวินิจฉัยทางการพยาบาล เสี้ยงต่อการเกิดแผลกดทับ เนื่องจากมีภาวะทุพโภชนาการ
การประเมินผลการพยาบาล เสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับบริเวณก้นกบ เพราะขยับตัวเองไม่ได้
1.การประเมินภาวะสุขภาพ ความสามารถในการเคลื่อนไหว การช่วยเหลือตนเอง ประเมินความเสี่ยง ประเมินผิวหนังและความสะอาด ประเมินโภชนาการ