Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล
ชนิดของแผลและปัจจัยการส่งเสริมการหายของแผล
ชนิดของแผล
ชนิดของแผลแบ่งตามสาเหตุ ตัวอย่างเช่น
แผลที่เกิดจากการผ่าตัด
แผลที่เกิดจากถูกของมีคมตัด
แผลที่เกิดจากถูกของมีคมทิ่มแทง
แผลที่เกิดจากโดนระเบิด
แผลที่เกิดจากถูกบดขยี้
ชนิดของแผลแบ่งตามลักษณะพื้นผิว
แผลลักษณะแห้ง หมายถึงลักษณะของแผลมีขอบแผลติดกันอาจเกิดการติดกันเองหรือจากการเย็บด้วยวัสดุเย็บแผลไม่มีสารคัดหลั่ง
แผลลักษณะเปียกชุ่ม หมายถึงลักษณะของขอบแผลไม่ติดกัน หรือขอบแผลกว้างมีสารคัดหลั่ง
ชนิดของแผลแบ่งตามลำดับความสะอาด
ชนิดของบาดแผลแบ่งตามระยะเวลาการเกิด
แผลที่เกิดเฉียบพลัน
แผลเรื้อรัง
แผลเนื้อตาย
ชนิดของแผลแบ่งตามการรักษา
การรักษาผู้ป่วยศัลยกรรมกระดูกด้วยวิธีการจัดกระดูกให้อยู่นิ่ง
การรักษาแผลด้วยสุญญากาศ
แผลท่อระบาย
แผลท่อหลอดคอ
แผลท่อระบายทรวงอก
แผลทวารเทียมหน้าท้อง
ปัจจัยที่มีผลต่อการหายของบาดแผล
ปัจจัยเฉพาะที่
แรงกด การนอนในท่าเดียวนาน ๆ ทำให้เลือดไหลเวียนไม่สะดวกเลือดไปเลี้ยงบาดแผลน้อยลงเกิดเป็นรอยแดง
ภาวะแวดล้อมแห้ง การหายของแผลและมีความเจ็บปวดน้อยในภาวะแวดล้อมชุ่มชื้นหายเร็ว3-5เท่าในภาวะแวดล้อมแห้งกว่า
การได้รับอันตรายและอาการบวม อาการบวมส่งผลกระทบต่อการขนส่งออกซิเจนและสำรอาหารเข้าสู่แผลทำให้แผลหายช้า
การติดเชื้อ
ภาวะเนื้อตาย
ความไม่สุขสบาย
ปัจจัยระบบ
อายุ
โรคเรื้อรัง
น้ำในร่างกาย
การไหลเวียนของโลหิตบกพร่อง
ภาวะกดภูมิคุ้มกันและรังสีรักษา
ภาวะโภชนาการ
ลักษณะและกระบวนการหายของแผล
ลักษณะการหายของแผล
การหายของแผลแบบปฐมภูมิ
เป็นแผลประเภทที่ผิวหนังมีการสูญเสียเนื้อเยื่อเพียงเล็กน้อย และเป็นแผลที่สะอาดเช่น แผลผ่าตัด
การหายของแผลแบบทุติยภูมิ
เป็นแผลขนาดใหญ่ที่เนื้อเยื่อถูกทำลายมีการสูญเสียเนื้อเยื่อบางส่วนเช่น แผลกดทับ แผลไฟไหม้
การหายของแผลแบบตติยภูมิ
เป็นแผลชนิดเดียวกับแผลทุติยภูมิเมื่อทำการรักษาโดยการทำแผลจนมีเนื้อเยื่อเกิดใหม่ปกคลุมสีแดงสดและไม่มีอาการการแสดงภาวะติดเชื้อแล้ว
กระบวนการหายของแผล
ระยะ1ห้ามเลือดและอักเสบ
จะเกิดขึ้นก่อนในเวลา 5-10 นาทีเมื่อเกิดการฉีกขาดของผิวหนังและหลอดเลือดมีเลือดไหลออก platelet จะทำหน้าที่แรกคือ หลั่งสาร thrombokinase และthromboplastin ทำให้ prothrombin กลายสภาพเป็น thrombin ช่วยทำให้ fibrinogen เปลี่ยนเป็นfibrinเกิดเป็นลิ่มเลือดทำให้เลือดหยุด
ระยะ 2การสร้างเนื้อเยื่อ
เป็นระยะการสร้างเนื้อเยื่อใหม่จะเริ่มตั้งแต่วันที่ 4-12 วัน
ระยะ 3การเสริมความแข็งแรง
เป็นระยะสุดท้ายของการสร้างและความสมบูรณ์ของคอลลาเจน
การบันทึกลักษณะบาดแผล
ชนิดของบาดแผล
ตำแหน่ง/บริเวณ
ขนาดควรระบุเป็นเซนติเมตร
สี
ลักษณะผิวหนัง
ขั้นหรือระยะความรุนแรงของบาดแผล
สิ่งที่ปกคลุมบาดแผลหรือสารคัดหลั่ง
วิธีการเย็บแผลและวัสดุที่ใช้ในการเย็บแผล
วิธีการเย็บแผล
Continuous method เป็นวิธีการเย็บแผลแบบต่อเนื่องตลอดความยาวของแผล
Interrupted method เป็นวิธีกำรเย็บแผลที่ต้องตัดวัสดุเย็บแผลในทุกฝีเข็ม
Subcuticular method เป็นการเย็บแผลแบบ continuous method แต่ใช้เข็มตรงในการเย็บและซ่อนวัสดุเย็บแผลไว้ในชั้นใต้ผิวหนัง
Retention method (Tension method) เป็นวิธีการเย็บรั้งแผลเข้าหากันเพื่อพยุงแผลในกรณีผู้ที่มีชั้นไขมันหน้าท้องหนาหรือแผลที่ตึงมาก
วัสดุที่ใช้ในการเย็บแผล
วัสดุที่ละลายได้เอง
เส้นใยธรรมชาติได้แก่ catgut ทำมาจากcollagenในsubmucosa ของลำไส้แกะหรือวัวเริ่มยุ่ยสลาย 4-5 วันและจะหมดไปภายใน 2 สัปดาห์
เส้นใยสังเคราะห์เช่น polyglycolic acid ละลายได้เร็ว 5-10 วัน
วัสดุที่ไม่ละลายเอง
เส้นใยตามธรรมชาติ เช่น ไหมเย็บแผล(silk)ราคาถูกผูกปมง่าย
เส้นใยสังเคราะห์ เช่น nylon เส้นเหล่านี้มีความแข็งแรงมากกว่าไหมเย็บแผลแต่ผูกปมยากและคลายได้ง่าย
วัสดุที่เย็บเป็นโลหะ เช่น ลวดเย็บ
วิธีการทำแผลชนิดต่างๆและการตัดไหม
อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำแผล
อุปกรณ์ทำความสะอาดแผล
ชุดทำแผล
ปากคีบไม่มีเขี้ยว
ปากคีบมีเขี้ยว
ถ้วยใส่สารละลาย
สำลี
gauze
สารละลาย
แอลกอฮอล์ 70%
น้ำเกลือล้างแผล
เบตาดีน
วัสดุสำหรับปิดแผล
วัสดุสำหรับยึดติดผ้าปิดแผล
อุปกรณ์อื่น ๆ เช่น กรรไกรตัดไหม กรรไกรตัดเชื้อเนื้อ
ภาชนะสำหรับทิ้งสิ่งสกปรก เช่น ชามรูปไต ถุงพลาสติก
การทำแผลผ่าตัดแบบแห้ง
เปิดแผลโดยใช้มือ (ใส่ถุงมือ) หยิบผ้าปิดแผลโดยพับส่วนที่สัมผัสแผลอยู่ด้านในทิ้งลงชามรูปไตหรือถุงพลาสติก
เปิดชุดทำแผล
หยิบ non-tooth forceps ใช้คีบส่งของ sterile ทำหน้ำที่เป็น transfer forceps
หยิบ tooth forceps ใช้รับของ sterile ทำหน้าที่เป็น dressing forceps
หยิบสำลีชุบ alcohol 70% เช็ดรอบๆ แผลวนจากในออกนอกห่างแผล 1 นิ้วเป็น บริเวณกว้าง 2 นิ้ว
หยิบสำลีชุบ 0.9% NSS เช็ดจากบนลงล่างจนแผลสะอาดแล้วเช็ดด้วยสำลีแห้ง
ปิดแผลด้วย gauze ติดพลาสเตอร์ตำมแนวขวางของลำตัวโดยเริ่มติดชิ้นแรกตรง กึ่งกลางของแผลและไล่ขึ้น-ลงตามลำดับ
เก็บอุปกรณ์ ถอดถุงมือ ถอด mask และล้างมือ ทิ้งขยะในถังขยะติดเชื้อทุกครั้ง
การทำแผลผ่าตัดแบบเปียก
เปิดแผลโดยใช้มือ (ใส่ถุงมือ) เปิดชุดทำแผลตามหลัก IC หยิบผ้าปิดแผลส่วนบนทิ้งลงในชามรูปไตหรือถุงพลาสติกเปิดผ้าปิดแผลชั้นที่ติดกับแผลด้วย tooth forcepsหากผ้าgauze แห้งติดแผลใช้สำลีชุบน้ำเกลือหยดบนผ้าgauze ก่อน
ทำความสะอาดริมขอบแผลเช่นเดียวกับการทำ dry dressing
ใช้สำลีชุบน้ำเกลือหรือน้ำยาตามแผนการรักษาเช็ดภายในแผลจนสะอาด
ใช้ผ้า gauze ชุบน้ำยา (solution) ใส่ในแผล (packing) เพื่อฆ่ำเชื้อและดูดซับสารคัดหลั่งให้ความชุ่มชื้นแก่เนื้อเยื่อ
ปิดแผลด้วยผ้าgauze และปิดพลาสเตอร์ตามแนวขวางของลำตัว
การตัดไหม
หลักการตัดไหม
ตรวจสอบคำสั่งการรักษาของแพทย์ทุกครั้งว่ามีจุดประสงค์ให้ตัดไหมทุกอัน หรือตัดอันเว้นอัน
การตัดและดึงไหมออกจึงไม่ควรดึงไหมส่วนที่มองเห็นลอดผ่านใต้ผิวหนังและจะต้องดึงไหมออกให้หมด เพราะถ้าไหมตกค้างอยู่ใต้ผิวหนังจะกลายเป็นสิ่งแปลกปลอมและเกิดการอักเสบติดเชื้อได้
ขณะตัดไหมหากพบว่ามีขอบแผลแยกให้หยุดทำและปิดแผลด้วยวัสดุที่ช่วยดึงรั้งให้ขอบแผลติดกัน
ปัจจัยที่ทำให้เกิดแผลกดทับระยะของแผลกดทับและการป้องกันแผลกดทับ
ปัจจัยส่งเสริมการเกิดแผลกดทับ
ปัจจัยภายในร่างกาย
อายุผู้ป่วยที่เกิดแผลกดทับร้อยละ 70 เป็นผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป
ภาวะโภชนาการผู้ป่วยที่ได้รับสารอาหารที่ไม่เพียงพอจะมีโอกาสเสี่ยงต่อกำรเกิดแผลกดทับได้
กำรผ่าตัดผู้ป่วยที่ใช้เวลาในการนานกว่า 3 ชั่วโมงจะมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับ
ปัจจัยภายนอกร่างกาย
แรงกดเป็นแรงที่กดบริเวณลงระหว่างผิวหนังผู้ป่วยกับพื้นรองรับน้ำหนัก
แรงเสียดทานเกิดระหว่างผิวหนังชั้นนอกกับพื้นผิวสัมผัส
แรงเฉือน
ความชื้น เกิดจากสารคัดหลั่งของร่างกายผู้ป่วยจะทำให้ความต้านทานต่อแรงกดลดลงจะเกิดแผลกดทับได้ง่าย
ระยะของแผลกดทับ
ระดับที่1 ผิวหนังแดงไม่มีการฉีกขาดของผิวหนังและไม่จางหายไปภายใน 30 นำที
ระดับที่2 ผิวหนังแดงเริ่มมีแผลเล็กๆมีหนังแท้ถูกทำลายฉีกขาดเป็นแผลตื้นมีรอยแดงบริเวณเนื้อเยื่อรอบๆและเริ่มมีสารคัดหลั่งจากแผล
ระดับที่3 แผลลึกถึงชั้นไขมันแต่ยังไม่ถึงชั้นกล้ามเนื้อเริ่มมีกลิ่นเหม็นยังไม่มีเนื้อตาย
ระดับที่4 แผลลึกเป็นโพรงถึงกล้ามเนื้อกระดูกและเยื่อหุ้มข้อพบมีเนื้อตาย
การป้องกันแผลกดทับ
การประเมินความเสี่ยงตามแบบประเมินความเสี่ยงของการเกิดแผลกดทับ
การรับความรู้สึก
ความชื้น
การทำกิจกรรม
สภาพอันเคลื่อนที่ได้
ภาวะโภชนาการ
การเสียดสีพื้นผิว
การเฝ้าระวังความเสี่ยงและควรการประเมินซ้ำเมื่อมีปัจจัยเสี่ยง
ลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับและเพิ่มปัจจัยเสริมการหายของแผล
ให้การดูแลช่วยเหลือและคำแนะนำทั่วไป
การดูแลและคำแนะนำเรื่องอาหารและโภชนาการ
การดูแลและคำแนะนำเรื่องยาที่ใช้ในการรักษา
การดูแลและคำแนะนะสำหรับผู้ป่วยที่ต้องใช้อุปกรณ์
การดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยที่มีปัญหาการขับถ่ายปัสสาวะหรืออุจจาระ
กระบวนการพยาบาลในการพยาบาลผู้ป่วยที่มีแผล
การประเมินภาวะสุขภาพ
ประเมินภาวะสุขภาพด้านร่างกายและจิตใจ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เพื่อส่งเสริมการหายของแผลให้เป็นไปตามกระบวนการหายของแผลผ่าตัด
การปฏิบัติการพยาบาลแบบองค์รวม
ทั้งด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ด้านสังคม และด้านจิตวิญญาณ
การประเมินผล
กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีแผลกดทับ
การประเมินภาวะสุขภาพ
การประเมินความสามารถของผู้ป่วย
ประเมินความเสี่ยงโดยใช้แบบประเมินความเสี่ยง
ประเมินผิวหนังและความสะอาด
ประเมินภาวะโภชนาการ
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
การวางแผนให้การพยาบาล
การให้การพยาบาลตามแผนการพยาบาลที่วางไว้
การประเมินผลการพยาบาล
วิธีการพันแผลชนิดต่างๆ
ชนิดของผ้าพันแผล
ผ้าสามเหลี่ยม
ผ้าพันแผลชนิดม้วน
ผ้าพันแผลชนิดพิเศษ
การพันผ้าแบบชนิดม้วน
การพันแบบเกลียว
การพันแบบเกลียวพับกลับ
การพันเป็นรูปเลข 8
การพันแบบกลับไปกลับมา
การพันแบบวงกลม